Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สูติศาสตร์หัตถการในการช่วยคลอด F/E,V/E,C/S, forceps, image, image, image,…
สูติศาสตร์หัตถการในการช่วยคลอด F/E,V/E,C/S
vacuum extraction
-
ข้อห้าม
- ทารกท่าผิดปกติเช่นทำหน้าท่ากันและท่าขวาง
- มีการผิดสัดส่วนระหว่างศีรษะทารกกับช่องเชิงกรานมารดาอย่างชัดเจน
- การคลอดทารกก่อนกำหนดที่มี Premature มาก ๆ เพราะจะเกิดอันตรายต่อกะโหลกที่ยังไม่แข็งแรง
-
- ทารกอยู่ในภาวะ Fetal distress
-
- รายที่ศีรษะอยู่สูงเหนือทางเข้าช่องเชิงกรานยกเว้นในราย second twins.
-
- รายที่ทารกได้รับการเจาะเลือดบริเวณหนังศีรษะก่อนคลอด (fetal Scalp blood sampling)
-
-
-
กิจกรรมการพยาบาล
-
2.ประเมินV/S การหดรัดตัวของมดลูกมกระเพาะปัสสาวะและการฉีกขาดของช่องทางคลอด เพื่อป้องกันการเกิดภาวะ PPH
-
-
-
6.อธิบายให้ผู้ป่วยทราบเกี่ยวกับแผนการรักษา เหตุผล ภาวะแทรกซ้อนเพื่อให้เกิดความร่วมมือและคลายความวิตกกังวล
-
ความหมาย
เครื่องมือที่ใช้สำหรับดึงศีรษะทารกออกจากช่องทางคลอดและเครื่องดูดสุญญากาศในการเสริมแรงจากการหดรัดตัวของมดลูกในขณะเจ็บครรภ์ ร่วมกับการเบ่งของผู้คลอดดึงศีรษะทารกออกจากช่องคลอด โดยออกแรงดึงเฉพาะเวลาที่มดลูกหดรัดตัว เพื่อให้สามารถดำเนินการคลอดทางช่องคลอดได้อย่างปลอดภัย
Forceps extraction
-
-
-
กิจกรรมการพยาบาล
ก่อนทำ
เตรียมเครื่องมือในการช่วยคลอดด้วยคีม ได้แก่การเตรียมคีมจะเป็นชนิดใดนั้นแล้วแต่ความเหมาะสมตามระดับและส่วนนำ ผ้าสี่เหลี่ยมSterile สายสวนปัสสาวะ ชุดเครื่องมือทำคลอดและเย็บแผล อุปกรณ์ช่วยเหลือทารกภายหลังคลอด
-
-
-
ขณะทำ
ดูแลด้านจิตใจโดยอยู่เป็นเพื่อนตลอดเวลาปลอบโยนให้กำลังใจและบอกให้มารตาทราบว่าแพทย์จะทำอะไรเช่นให้ยาระงับความรู้สึกพร้อมกับแนะนำการปฏิบัติตัวของมารดาในขณะที่แพทย์ช่วยคลอด
-
-
-
หลังทำ
-
-
สังเกตปริมาณเสือดที่ออกจากช่องคลอดและแผลฝีเย็บตามหลังREEDA รวมทั้งสังเกตการณ์เกิดก้อนเลือดคั่ง hematoria) บริเวณช่องคลอดและฝีเย็บถ้ามีสิ่งผิดปกติต้องรายงานแพทย์
-
ดูแลความสุขสบายแก่มารดาทั่วไปเช่นเช็ดตัวเปลี่ยนเสื้อผ้าห่มผ้าให้เพื่อให้มารดาอบอุ่นดูแลให้ได้รับการพักผ่อนนอนหลับอย่างเต็มที่
-
เปิดโอกาสให้มารดาได้พูดคุยซักถามเกี่ยวกับประสบการณ์การคลอดของมารดาเพื่อให้มารดาเข้าใจเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเกี่ยวกับการคลอดตามความเป็นจริงช่วยให้ลควิตกกังวล
-
ความหมาย
การคลอดที่ใช้เครื่องมือคือคีมช่วยหมุนหรือดึงศีรษะทารกออกจากช่องคลอดเพื่อป้องกันการฉีกขาดหรือยืดขยายมากเกินไปของ pelvic fascia หรือป้องกันไม่ให้ศีรษะทารกถูกกดนานเกินไปจนเป็นอันตรายต่อสมองหรือเพื่อลดความเครียดของผู้คลอด
-
cesarean section
ข้อบ่งชี้ในการผ่าตัดคลอด
-
ผ่าตัดคลอดชนิดอนุโลม
-
-
3.ทารกอยู่ในท่าผิดปกติบางกรณี เช่น ท่าก้นที่ศีรษะทารกแหงนมากเกินไป ท่าก้นที่ใช้เท้าเป็นส่วนนำ ทารกมีขนาดใหญ่และมารดาตั้งครรภ์เป็นครรภ์แรก
-
-
-
ภาวะแทรกซ้อน
ก่อนผ่าตัด
- เกิดการฉีกขาดของแผลผ่าตัดบนตัวมดลูก
- เกิดการบาดเจ็บต่อทารกจากการผ่าตัดหรือจากการทำคลอดที่ยากในทารกแนวขวาง
- เกิดการบาดเจ็บต่อกระเพาะปัสสาวะและลำไส้
- เกิดการฉีกขาดของแผลผ่าตัดบนตัวมตลูกไปจนถึงปากมดลูกช่องคลอดและ Uterine vessels ทำให้เสียเลือดมากขณะผ่าตัดจนต้องให้เลือดแทน
หลังผ่าตัด
- ภาวะแทรกซ้อนทางวิสัญญี ได้แก่ ท้องอืด
- เกิดการอักเสบของเยื่อบุโพรงมดลูก
- เกิดการอักเสบของแผลผ่าตัด
- เกิดการอักเสบของระบบทางเดินปัสสาวะ
- มีเลือดออกภายในช่องท้องภายหลังการทำผ่าตัด
-
- เกิดการอักเสบของระบบทางเดินหายใจ
- เกิดการตกเลือดขึ้นภายหลังร่วมกับภาวะซื้อคและต้องตัดมดลูก
กิจกรรมการพยาบาล
-
การพยาบาลหลังผ่าตัดคลอด
1.จัดท่านอนราบไม่หนุนหมอน ตะแคงศีรษะจนกว่าจะรู้สึกตัวดี ในกรณีได้รับยารับยาระงับความรู้สึกเฉพาะที่จัดให้นอนราบ 12 ชม.
-
-
4.ประเมินสัญญาณชีพทุก 15 นาที 4ครั้ง 30 นาที 2 ครั้งและประเมินทุก 1 ชม. จนกว่าสัญญาณชีพจะคงที่และประเมินทุก 4 ชั่วโมง
5.ดูแลเนื่องการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ และงดน้ำงดอาหารหลังผ่าตัด24-48 ชม. และบันทึกปริมาณสารน้ำเข้า-ออก
-
-
-
-
ความหมาย
การคลอดของทารกที่อยู่ในมดลูกโดยผ่านแผลผ่าตัดหน้าท้องและรอยแผลผ่าตัดของมดลูด รอยผ่าตัดของหน้าท้องเรียกว่า Laparotomy ส่วนรอยผ่าตัดของมดลูกเราเรียกว่าHysterotomy
-
-
-
-
-
-
-