Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะขาดออกซิเจน Birth Asphyxia, Amniotic fluid embolisms …
ภาวะขาดออกซิเจน
Birth Asphyxia
ผลกระทบ
ต่อมารดา
ส่งผลกระทบด้านจิตใจเนื่องจากสภาวะการเจ็บป่วยของบุตร
มีโอกาสเกิดภาวะน้ำคร่ำอุดกั้นหลอดเลือดเนื่องจากทารกมีภาวะเสี่ยง
มีโอกาสใช้สูติศาสตร์หัตถการในการช่วยคลอด
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะตกเลือดหลังคลอด
ต่อทารก
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
ศูนย์ควบคุมการทำงานของหัวใจถูกกดเป็นผลให้เกิด bradycardia
การขาดออกซิจนและการลดลงของไกลโคเจนของหัวใจ ทำให้กล้ามเนื้อหัวใจทำงานประสิทธิภาพลดลง หัวใจพองขยาย ความดันโลหิตต่ำ เกิด Cardiogenic shock
การขาดออกซิเจนมากของหัวใจ ทำให้เกิดภาวะหัวใจวาย
การมีเลือดไปเลี้ยงเนื้อเยื่อหัวใจลดลง ทำให้ลิ้นหัวใจหลอดเลือดหัวใจถูกทำลายเกิดเกิดเนื้อตาย ในที่สุดดิ้นหัวใจปีดไม่สนิท ทำงานไม่มีประสิทธิภาพ ทำให้ได้ยินเสียงเมอร์เมอร์ (mumur)
การรั่วของซีรัมจากหลอดเลือด จากเยื่อบุหลอดเลือคเสียหน้าที่ ทำให้ปริมาณเลือดที่ไหลเวียนลดลง ทำให้ความดันโลหิตต่ำ
ระบบหายใจ
ศูนย์หายใจถูกกด ทำให้หายใจช้า หรือหยุดหายใจ
เนื้อเยื่อปอดขาดออกซิเจนมาก ๆ ทำให้เซลล์ถุงลม (elveolar cell type II) ไม่สามารถ
สร้างสารลดแรงตึงผิว (surfactant) ได้ เกิดกลุ่มอาการหายใจลำบาก
การรั่วของซีรัมจากหลอดเลือดปอด จากเชื่อบุหลอดเลือดเสีขหน้าที่ ทำให้เกิด Pulmonary edema
ระบบประสาทส่วนกลาง
โรคสมองขาดออกซิเจนและเลือดไปเลี้ยง (hypoxic ischemic encephalopathy)ทารกจะมีการเปลี่ยนแปลงระดับการรู้สติ หายใจไม่สม่ำเสมอ หยุดหายใจ รีเฟล็กชัลคลง กำลังกล้ามเนื้อลดลงหรืออาจชักได้
เลือดออกในสมอง จากหลอดเลือดของสมองเสียความคงทน แตกได้ง่าย เมื่อความดันในหลอดเลือดเพิ่มสูงขึ้นจากปริมาณเลือดที่ไปเลี้ยงสมองที่เพิ่มขึ้นผิดปกติ ทารกจะมีการเปลี่ยนแปลงระดับการรู้สติ หยุดหายใจ หายใจลำบาก กระหม่อมโปงตึง ความดันโลหิตและอุณหภูมิร่างกายไม่คงที่ระดับน้ำตาลในเลือดไม่คงที่ Hct ลดลง
ภาวะชัก จาก Cortex ของสมองถูกทำลาย อาการมักจะเริ่มด้วยชักแบบซ่อนเร้นไปถึงชักตลอดเวลา
ภาระสมองบวมจากการคั่งของสารน้ำทั้งภายในและภายนอกเซลล์ของสมอง เนื่องจากการสูญเสียการทำหน้าที่ของหลอดเลือดในสมองทำให้เกิดการรั่วของสารน้ำจากหลอดเลือด ทำให้เกิดภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูงขึ้น (IICP)
4.ระบบขับถ่าย
ไตจะไวต่อภาวะขาดออกซิเจน การขาดออกซิเจนและเลือดไปเลี้ยงทำให้หลอดฝอยของไต หรือเนื้อไตเกิดเน่าตายอย่างเฉียบพลัน ปัสสาวะลดน้อยลง หรือไม่ปัสสาวะใน 48 ชั่วโมงหลังคลอดหรือปัสสาวะเป็นเลือด
ระบบทางเดินอาหาร
จากการเปลี่ยนแปลงการทำหน้าที่ของตับจากภาวะขาดออกซิเจน ทำให้เกิดภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ บิลิรูบินในเลือดสูง
เซลล์ดับเน่าตาย นอกจากนี้ภาวะขาดออกชิเจนแรกคลอดทำให้เกิดความผิดปกติของเมตาบอลิซึม ได้แก่ ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ ภาวะแคลเซียมในเลือดต่ำ
ภาวะขาดออกซิเจนแรกคลอดทำให้เลือดไปเลี้ยงระบบทางเดินอาหารลดลง ทำให้เกิดภาวะลำไส้เน่าเปื่อยได้
ความหมาย
ภาวะขาดออกซิเจนแรกเกิด ประกอบด้วยเลือดขาด O2 มี CO2 คั่งในเลือดสูงร่วมกับมีภาวะเลือดเป็นกรดเนื่องจากการระบายอากาศที่ปอดและการกำซาบของปอดไม่เพียงพอหรือไม่มี ภายหลังคลอดส่งผลให้มีเลือดและออกซิเจนไปเลี้ยงร่างกายไม่เพียงพอ
พยาธิสภาพ
การวินิจฉัย
ทารกเคลื่อนไหวมากขึ้นหรือลดลง
FHS > 160 or < 110/min
แรกคลอด Apgar score ในนาทีที่ 1< 7 คะแนน
ทารกมีลักษณะเขียว ไม่หายใจ ตัวนิ่ม อ่อนปวกเปียก reflex ลดลง มี bradycardia
สาเหตุ
ด้านมารดา
Pregnancy -induced hypertension (PIH )
ตกเลือดขณะตั้งครรก์
ตั้งครรภ์เกินกำหนด
การติดเชื้อ
จากการคลอด
Prolong labour
Fetal distress
Shoulder dystocia
Prolapse cord
Abnormal delivery
ภาวะสูดสำลักขี้เทา (meconium aspiration syndrome: MAS)
ภาวะช่องเชิงกรานไม่ได้สัดส่วนกับขนาดของศีรษะทารก (Cephalopelvic disproportion : CPD)
Twin
ด้านทารก
Preterm
Fetal malformation
Infection
IUGR (Intrauterine Growth Retardation) ภาวะทารกในครรภ์เจริญเติบโตช้า
การพยาบาล
ประเมิน Apgar score ในนาทีที่ 1,5.10
Apgar score 7-10 คะแนน ทารกปกติ ดูแล ดังนี้
ให้ความอบอุ่นวางทารกไว้ได้ radiant warmer เช็ดตัวให้แห้ง
Suction เอาน้ำคร่ำออกจากปากและจมูก โดยต้องเริ่ม suction ในปากก่อนจมูก เพื่อป้องกันการสำลัก
กระตุ้นให้หายใจโดย เช็ดด้ว suction ถูบริเวณหลัง ดีดฝ่าเท้า ทำ 1-2 ครั้ง
Apgar score 4-6 ทารกมีภาวะ mild asphyxia ดูแล ดังนี้
Clear airway โดย suction
โดยดูดเสมหะในท่อหลอดลมคอ ปากและจมูก โดยใช้ความดันระหว่าง 60-80 มิลลิเมตรปรอท
การดูดเสมหะแต่ละครั้งไม่ควรนานเกิน 15 วินาที โดยตลอดรอบของการดูดเสมหะไม่ควรนานเกิน
10-15 นาทีและให้ออกซิเจนก่อนและหลังดูด เสมหะทุกครั้ง
ให้ 02 แรงดันบวก เช่น
02 mask with bag
02 bag with ET-tube
ข้อบ่งชี้
apnea กระตุ้นการหายใจด้วยการสัมผัสไม่เกิดการหายใจ
Apgar score น้อยกว่า 4
HR น้อยกว่า 100/min
มี central cyanosis คือ มีมือเท้าและบริเวณเยื่อบุในช่องปากเขียว แม้ให้ O2 100 ทาง bag
กระตุ้นการหายใจ โดยใช้นิ้วมือขีดฝ่าเท้า ตบฝาเท้า ผ้าถูบริเวณหลังเบาๆ
Apgar score 0-3 ทารกมีภาวะ severe asphyxia ดูแล ดังนี้
ดูแลใส่ท่อช่วยหายใจ
• การจัดท่าของทารกในการใส่ท่อช่วยหายใจ
– Sniffing
• การใส่ท่อช่วยหายใจ:ควรใส่ท่อช่วยหายใจด้วยความรวดเร็วภายใน 30 วินาที
ความลึก : 6+น้้าหนัก (กิโลกรัม)
ควรเลือกใช่ท่อช่วยหายใจแบบใด ขนาดของท่อช่วยหายใจ
ให้ออกซิเจนทาง endotracheal tube และดูดเมือก
1.การดูแลเรื่องการหายใจและการให้ออกซิเจน การดูแลการหายใจของทารก คือทำทางเดินหายใจให้โล่งอยู่เสมอ
ช่วยฟื้นคืนชีพ กรณี HR < 60/min
Airway ขั้นตอนเบื้องต้น (initial steps)
ให้ความอบอุ่นวางทารกไว้ได้ radiant warmer
จัดท่าศีรษะ ทำให้ทางเดินหายใจโล่ง และดูดเสมหะ โดยจัดท่าของศีรษะให้คอแหงนเล็กน้อย (slightly extending)
– Sniffing : ช่องคอ กล่องเสียง และหลอดลมอยู่ในแนวตรง
เช็ดตัวและให้การกระตุ้นโดยการสัมผัส เพื่อให้ทารกหายใจ
ประเมินการหายใจ อัตราการเต้นของหัวใจ และระดับออกซิเจน
Breathing การช่วยหายใจด้วยแรงดันบวกและให้ออกซิเจนและติดเครื่องวัดค่าความอิ่มตัวออกซิเจน
เครื่อง oximeter ควรนำมาใช้ยืนยันภาวะเขียวของทารกแรกเกิด
• นิยมจับที่มือขวา ( preduct) จะมีค่าเช่นเดียวกับเลือดที่ไปเลี้ยงอวัยวะสำคัญ
Circulation การกดหน้าอกพร้อมให้การช่วยหายใจ
การกดหน้าอก ประกอบด้วยการกดบน sternum อย่างเป็นจังหวะ
เทคนิคในการทำการกดหน้าอก
เทคนิคการใช้นิ้วหัวแม่มือ (2 thumb technique)
เทคนิคการใช้สองนิ้วมือ
(2-finger )
1 more item...
ตำแหน่งการวางนิ้วที่ถูกต้อง : 1ใน 3 ด้านล่าง ต่ำแหน่งระหว่าง xyphoid และราวนม
ความแรงที่ใช้ในการกดกระดูกหน้าอก
ความลึกของการกดหน้าอก 1 ใน 3ของความกว้างทรวงอกในแนวหน้าหลัง( anterior-posterior diameter of chest)ระหว่างการกดหน้าอก นิ้วหัวแม่มือหรือนิ้วมือของท่านควรจะอยู่บนหน้าอกตลอดเวลา
• อัตราการกดหน้าอก และกดหน้าอกประสานงานกับการช่วยหายใจ
– หนึ่ง และ สอง และ สาม และ บีบ
– ทำ 45-60 วินาที
– หัวใจไปชนกับกระดูกไขสันหลัง
– ความดันในช่องอกเพิ่มขึ้น
– เกิดการไหลเวียนเลือดไปยังอวัยวะสำคัญ
หากทารก ยังมี Apgar น้อยกว่า 7 ให้คะแนนต่อไปทุก 5 นาที นาน 20 นาที และหาก Apgar score 0 คะแนนเมื่อช่วยฟื้นคืนชีพนาน 10 นาที ควรหยุดช่วยฟื้นคืนขีพ
Amniotic fluid embolisms
ภาวะน้ำคร่ำอุดกั้นหลอดเลือดปอด
ความหมาย
ภาวะที่น้ำคร่ำรั่วเข้าไปในหลอดเลือดดำของมดลูก เกิดในระยะท้ายของปากมดลูกเปิดหรือเมื่อเริ่มต้นเบ่ง ถุงน้ำคร่ำแตก และภายหลังคลอด
พยาธิสภาพ
การวินิจฉัย
Clinical diagnosis
มีความดันโลหิตต่ำอย่างเฉียบพลันหรือหัวใจหยุดเต้น
มีภาวะขาดออกซิเจนอย่างเฉียบพลัน โดยผู้ป่วยจะมีเขียว หยุดหายใจอย่างเฉียบพลัน
มีภาวะ coagulopathy อย่างรุนแรง
อาการใน 3 ข้อข้างต้นเกิดอาการขณะเจ็บครรภ์คลอด ทำคลอด ขูดมดลูก หรือภายใน 30นาทีหลังคลอด
ไม่สามารถตรวจพบว่ามีโรคหรือภาวะอื่นที่ทำให้เกิดอาการเหล่านี้
Laboratory diagnosis
ยังไม่มีวิธีที่ยอมรับและใช้ได้จริงในปัจจุบัน
สาเหตุ
อายุ >35 ปี
มีบุตรหลายคน ตั้งครรภ์มากกว่า 5 ครั้ง
ได้ยากระตุ้นการคลอด
Precipitated labour
ทำสูติศาสตร์หัตถการช่วยคลอด
C/S
V/E
F/E
มีภาวะเลือดออกในช่วงหลังของการตั้งครรภ์
Placenta previa
Placenta abruption
ทารกที่มีภาวะเสี่ยง
ภาวะสูดสำลักขี้เทา (meconium aspiration syndrome: MAS)
Fetal distress
Concept
"มีโอกาสตายสูง เกิดขึ้นเร็ว รุนแรง"
ผลกระทบ
ต่อมารดา
มารดามีอัตราการตายสูง
มีการบาดเจ็บทางระบบประสาทรุนแรง จากภาวะขาดออกซิเจนในเลือด
ต่อทารก
มีอัตราการตาย 20-60%
มีความผิดปกติของระบบประสาท 50%
การพยาบาล
เน้นแก้ไขภาวะขาด 02 และความดันโลหิตต่ำ
1.ประเมิน V/S ได้แก่ RR HR BP 02 sat q 15 นาที หากหากความดันโลหิตลดต่ำลงและอัตราการเต้นของหัวใจเพิ่มสูงขึ้นให้นอนตะแคงซ้าย
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก ทุก 30 นาทีเพื่อประเมินความถี่ ระยะเวลา และประเมิน intensity หาก Interval <2’ Duration >=60” intensity ในระดับ severe ควรรายงานแพทย์
ประเมินโดยสังเกต ลักษณะ ปริมาณ ของเลือดที่ไหลออกทางช่องคลอด
จัดท่าผู้คลอดนอนราบ และตะแคงศีรษะเพื่อป้องกันลิ้นตก ใส mouth gag ป้องกันการกัดลิ้น ดูดน้ำลายหรือสารคัดหลั่ง เพื่อให้ทางเดินหายใจโล่งและให้ On ventilator + Endotracheal tube เพื่อแก้ไขภาวะหายใจลำบาก
Retain foley's Cath สังเกตลักษณะ ปริมาณ สีของปัสสาวะ หากน้อยกว่า 30 cc/hr อาจมีภาะไตวายเฉียบพลัน
เจาะเลือด ส่งตรวจเลือต ขอ G/M และ Fibrinogen ป้องกันภาวะตกเลือด
ดูแลให้ Dopamin 2-5 microgram เป็นกลุ่มยาออกฤทธฺ์เพิ่มการบีบตัวของหัวใจ เพิ่่ม HR และเพิ่ม CO ช่วยลดการคั่งของหลอดเลือดดำในปอตและอาการหอบเขียว
ดูแลให้ Digoxin 0.5 microgram iv stat จากนั้นให้อีก 0.25 mg q 4 hr ช่วยให้หัวใจบีบตัวช้าลง บีบตัวแรงขึ้น CO เพิ่มขึ้น
ดูแลให้ Hydrocortisone 500 mg q 6 hr ช่วยขยายหลอดลม แก้ไขภาวะหดเกร็งของหลอดลม
ช่วยตลอด N/D กรณี ปากหมดลูกเปิดหมด station +2 ขึ้นไป
รายงานแพทย์พิจารณา C/S หากส่วนนำไม่เคลื่อนต่ำ และไม่มีความก้าวหน้าของการคลอด
รายงานกุมารแพทย์ และเตรียมอุปกรณ์กู้ชีพทารก
อาการและอาการแสดง
มักมีอาการขณะเจ็บครรภ์คลอด หลังคลอด หลัง C/S หลังเจาะน้ำคร่ำ ทันทีหรือภายใน 48 ชั่วโมง
อาการหัวใจล้มเหลวเฉียบพลัน เช่น N/V กระวนกระวาย เหนื่อย BP drop จนอาจไม่สามารถวัดได้
hypoxemia เช่น สับสน กระวนกระวาย เหนื่อย tachycardia ตัวเขีย
มีภาวะเลือดแข็งตัวผิดปกติ สังเกตจากเลือดไหลออกมากบริเวณที่ทำหัตถการ หรือเมื่อคลอดบุตร
เลือดจะออกไม่หยุด
ปัจจัยที่ส่งเสริม
การรั่วหรือการฉีกขาดของถุงน้ำคร่ำ
มีการลอกตัวบริเวณขอบรก (marginal separation)หรือมีการฉีกขาดของปากมดลูก ทำให้มีช่องทางที่น้ำคร่ำจะเช้าไปในหลอดเลือดดำของมดลูกได้
ศีรษะเด็กเคลื่อนลงสู่ช่องเชิงกรานมาปิดกั้นทางออกของน้ำคร่ำ ส่งผลให้ให้น้ำคร่ำไหลเข้าสู่รอยแผลที่ผนังมดลูก เมื่อมดลูกหดบีบรัดตัว
การหดบีบรัดตัวของมดลูกแรง รวมทั้งการใช้ยา oxytocin