Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ.๒๕๒๘ แก้ไข พ.ศ.๒๕๔๐ -…
พระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ.๒๕๒๘ แก้ไข พ.ศ.๒๕๔๐
หมวด ๑ สภาการพยาบาล
มาตรา ๘ รับขึ้นทะเบียนและออกใบอนุญาต สั่งพักใช้ หรือเพิกถอนใบอนุญาต ให้ความเห็นชอบหลักสูตรการศึกษา รับรองหลักสูตร,วิทยฐานะ,ปริญญา ออกหนังสืออนุมัติ
มาตรา ๙ เงินอุดหนุนงบประมาณแผ่นดิน ค่าจดทะเบียนสมาชิกสามัญ เงินและทรัพย์สิน
มาตรา ๗ ควบคุมความประพฤติ ส่งเสริมการศึกษา ส่งเสริมความสามัคคี
มาตรา ๑๐ ให้รัฐมนตรีดำรงตำแหน่งสภานายกพิเศษ
มาตรา ๖ สภาการพยาบาลเป็นนิติบุคคล
หมวด ๒ สมาชิก
มาตรา ๑๑
สมาชิกกิตติมศักดิ์ (ไม่เป็นพยาบาล) ผู้ทรงคุณวุฒิ ซึ่งสภาการพยาบาลเชิญ
สมาชิกสามัญ (เป็นพยาบาล) อายุไม่ต่ำกว่า 18 ปีบริบูรณ์ มีความรู้ในวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ไม่เป็นผู้ที่มีความประพฤติเสียหาย ไม่เคยต้องโทษจำคุก ไม่เป็นผู้จิตฟั่นเฟือน ไม่สมประกอบ
มาตรา ๑๒ ขอขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาต แสดงความเห็นเป็นหนังสือ เลือกตั้ง รับเลือกตั้ง
มาตรา ๑๓
สมาชิกสภาพของสมาชิกสามัญสิ้นสุดลง ตาย ลาออก ขาดคุณสมบัติตามมาตรา ๑๑
หมวด ๓ คณะกรรมการ
มาตรา ๑๔ คณะกรรมการทั้งหมด ๓๓ คน
มาตรา ๑๕ แต่งตั้ง สมาชิกกิตติมศักดิ์ สมาชิกสามัญ
(ไม่เกินหนึ่งในสี่ของคณะกรรมการ)
มาตรา ๑๖ เลือกนายกสภาการพยาบาล อุปนายกสภาการพยาบาล คนที่ ๑ อุปนายกสภาการพยาบาล คนที่ ๒ เลขาธิการ ประชาสัมพันธ์ เหรัญญิก
มาตรา ๑๘ กรรมการที่ปรึกษา
มาตรา ๑๙ วาระกรรมการ ๔ ปี
มาตรา ๒๐
กรรมการพ้นจากตำแหน่ง สมาชิกภาพสิ้นสุดลง ขาดคุณสมบัติมาตรา ๑๓ ลาออก
หมวด ๔ การดำเนินกิจการของคณะกรรมการ
มาตรา ๒๔ การประชุมคณะกรรมการ กรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนกรรมการทั้งหมด
มาตรา ๒๖ มติที่ระชุม ความเห็นชอบจากสภานายกพิเศษ ออกข้อบังคับ กำหนดงบประมาณ สมาชิกสามัญพ้นจากสมาชิก วินิจฉัยชี้ขาด
หมวด ๕ การควบคุมการประกอบวิชาชีพ
มาตรา ๒๗ ห้ามผู้ใดที่มิได้เป็นผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์แสดงวิธีที่ให้ผู้อื่นเข้าใจว่าตนเป็นผู้มีสิทธิ์ประกอบวิชาชีพ เว้นแต่ ช่วยเหลือตามหน้าที่ ญาติพี่น้อง กฎหมายบังคับไว้ และเห็นโดยบังเอิญ
มาตรา ๒๙ การขึ้นทะเบียนและออกใบอนุญาต ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล ผู้ประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์ ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ใบอนุญาตทุกประเภทมีอายุ 5 ปี นับแต่วันที่ออกใบอนุญาต
มาตรา ๓๑ ผู้ประกอบวิชาชีพผู้ใดขาดจากสมาชิกภาพให้ใบอนุญาตนั้นสิ้นสุดลง
มาตรา ๓๓ บุคคล ซึ่งได้รับความเสียหาย เพราะผู้ประกอบวิชาชีพประพฤติผิดจริยธรรมในวิชาชีพ มีสิทธิ์กล่าวหาผู้ก่อให้เกิดความเสียหายนั้น คนอื่นฟ้องแทนไม่ได้
มาตรา ๓๔ การกล่าวโทษตามมาตรา ๓๓ กรณีคณะกรรมการมีมติว่ามีพฤติการณ์อันสมควรให้มีการพิจารณาเกี่ยวกับจริยธรรมวิชาชีพให้เลขาธิการเป็นคนเสนอเรื่อง
มาตรา ๔๑ อำนาจชี้ขาดคณะกรรมการ พักใช้ใบอนุญาตไม่เกิน ๒ ปี เพิกถอนใบอนุญาต
หมวด ๖ บทลงโทษ
มาตรา ๔๒ ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา ๒๗ หรือ ๔๓ จำคุกไม่เกิน ๒ ปี ปรับไม่เกิน ๒๐,๐๐๐ บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ