Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การตรวจ Neurological, นางสาวสุชาวดี อินกว่าง ห้อง 2A เลขืที่ 79 รหัส…
การตรวจ Neurological
ตรวจร่างกายตามเส้นประสาทสมอง Cranial Nerve 12
เส้นประสาทคู่ที่ 1 Obfactory Nerve
ให้ผู้รับบริการหลับ อุดจมูก ดมกลิ่น สอบถามกันได้กลิ่นสองครั้ง
เส้นประสาทคู่ที่ 2 Optic Nerve
ตรวจสอบการมองเห็น เห็นโดยการอ่านหนังสือในระยะห่าง 14 นิ้ว ถามความชัดเจนในการอ่านของผู้ป่วย
เส้นประสาทสมองคู่ที่ 3 Oculomotor Nerve
เส้นประสาทสมองคู่ที่ 4 trochlear Nerve
เส้นประสาทสมองคู่ที่ 6 Abducens Nerve
โดยผู้ตรวจจะชี้นิ้ว เคลื่อนเข้าหาดวงตาของผู้ป่วยจากนั้นเคลื่อนไปทางด้านขวา เคลื่อนมาทางซ้าย เคลื่อนไปข้างบน ลงล่างและเฉียงบน เฉียงล่าง ให้ผู้รับบริการมองตามนิ้วของผู้ตรวจ จากนั้นผู้ตรวจตรวจการขยายของรูม่านตาโดยใช้ไฟฉายส่องจากหางตาไปหัวตา
เส้นประสาทสมองคู่ที่ 5 trigerminal nerve
ให้ผู้ป่วยกัดฟัน คลำดูกล้ามเนื้อบริเวณแก้ม ขมับทั้ง 2 ข้างโดยปกติแล้วจะเกร็งเท่ากัน จากนั้นตรวจความรู้สึกโดยการใช้สำลีเขี่ยเบาๆที่หน้า
เส้นประสาทคู่ที่ 7 facial nerve
ตรวจความสามารถโดยให้ผู้ป่วยหลับตาปี๋ ย่นหน้าผาก ยิงฟัน ทำปากจู๋ ทำแก้มป่อง โดยปกติจะเท่ากันทั้งสองข้าง
เส้นประสาทสมองคู่ที่ 8 vestibulocochlear nerve
ทดสอบการได้ยินให้ผู้ป่วยหลับตา ใช้ส้อมเสียงในการทดสอบ ในกรณีที่มีใช้การดีดนิ้วข้างหูผู้ป่วยและใช้การสอบถามว่าได้ยินหรือไม่
เส้นประสาทสมองคู่ที่ 9 glossopharyngeal nerve
เส้นประสาทสมองคู่ที่ 10 vegus nerve
ให้ผู้ป่วยอ้าปาก ร้องอ๊า สังเกตุดูลิ้นไก่ ว่าเอียงหรือไม่ ตรวจ Gag reflex โดยกดที่โคนลิ้น ปกติ ลิ้นไก่ จะอยู่ตรงกลาง และมี reflex ของการขย้อน
เส้นประสาทสมองคู่ที่ 11 accessory nerve
โดยให้ผู้ป่วยยื่นแขนไปด้านหน้า จากนั้นผู้ตรวจกดแขนผู้ป่วยลง สังเกตแรงต้านขณะกด
เส้นประสาทสมองคู่ที่ 12 hypoglossal nerve
ตรวจโดยให้ผู้ป่วยแลบลิ้นเต็มที่ สังเกตรูปร่างการเอียง การสั่น การเหี่ยวฝ่อของลิ้น ปกติลิ้นจะไม่สั่นและไม่เหี่ยวฝ่อ
การตรวจการทำงานประสานกัน Coordinate
นิยม คือ Finger to Nose TO Finger
ให้ผู้ป่วยนั่งเผชิญหน้ากับผู้ตรวจ ใช้ปลายนิ้วมือแตะบริเวณปลายจมูกตัวเอง แล้วไฟแตะปลายนิ้วชี้ของผู้ตรวจ ซึ่งอยู่ห่างจากปลายจมูกประมาณ 18 นิ้ว และกลับไปแตะปลายจมูกตัวเองอีกครั้ง โดยผู้ตรวจเปลี่ยนตำแหน่งนิ้วชี้ไปเรื่อยๆ และทำเร็วขึ้นเรื่อยๆ ให้ตรวจทั้งสองข้าง
การทดสอบการทรงตัวโดยให้เดิน ต่อเท้าเป็นเส้นตรง
โดยปกติผู้ป่วยจะไม่เดินเซ
การตรวจ Mental Status = ความรู้สึกตัว
หรือระดับการรู้สติการรับรู้เวลาสถานที่บุคคลสติปัญญาความจำอารมณ์ความคิดการตัดสินใจการพูดและการใช้ภาษา
คนไข้รู้ไหมคะว่าอยู่ที่ไหน
วันนี้วันที่เท่าไหร่
ทราบไหมคะว่ากลางวันหรือกลางคืน
การตรวจทั่วไป
เช่น การเดินลักษณะ ที่แสดง ออก
การตรวจการเคลื่อนไหวของ Moto
r
มี 5 ระดับ
Grade 5 ระดับกำลังกล้ามเนื้ออยู่ในเกณฑ์ปกติ คือสามารถต้านแรงของผู้ตรวจได้
Grade 4 ระดับกำลังกล้ามเนื้อน้อยกว่าปกติเล็กน้อย คือ ยังสามารถต้านแรงของผู้ตรวจได้แต่ไม่เต็มที่
Grade 2 ระดับกำลังกล้ามเนื้อน้อยลงอย่างมาก คือ ไม่สามารต้านแรงของผู้ตัว ได้แรงไม่สามารถต้านแรงโน้มถ่วงได้ ทำได้แค่ขยับแขนในแนวราบเท่านั้น
Grade 1 ระดับกำลังกล้ามเนื้อ น้อยมาก คือ ไม่สามารถขยับได้ทำได้แค่เกร็งกล้ามเนื้อเท่านั้น
Grade 0 ไม่สามารถ เกร็งกล้ามเนื้อได้เลย
Grade 3 ระดับความหลังกล้ามเนื้อน้อยลงชัดเจน คือ ไม่สามารถต้านแรงของผู้ตรวจได้แต่สามารถยกขึ้นมาต้านแรงโน้มถ่วงได้
การตรวจปฏิกิริยาตอบสนองของเอ็นกล้ามเนื้อ Deep Tendon Reflex
เคาะไปในบริเวณเส้นเอ็นต่างๆ ในร่างกาย เพื่อประเมินการตอบสนองของเส้นประสาท ทั้งเส้นประสาทรับความรู้สึกและเส้นประสาทที่ควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อ ทั้งสองส่วนในเวลาเดียวกัน โดยหมอจะใช้ค้อนเล็กๆเคาะ บริเวณเอ็นสำคัญต่างๆ และประเมินการตอบสนองการเด้งกลับมา
นางสาวสุชาวดี อินกว่าง ห้อง 2A เลขืที่ 79 รหัส 63123301152