Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วิศวกรรมความปลอดภัยในการ ทำงานที่อับอากาศ - Coggle Diagram
วิศวกรรมความปลอดภัยในการ
ทำงานที่อับอากาศ
ความหมาย ชนิดและประเภทของที่อับอากาศ
นิยามของที่อับอากาศ
ที่ซึ่งมีทางเข้า-ออกจำกัดและมีการระบายอากาศที่ไม่เพียงพอ เช่น ท่อ ถัง อุโมง
บรรยากาศทีเป็นอันตราย เช่น ไวโล หอกลั่น
ปริมาณออกซิเจน 19.5-23.5 %
ปริมาณสารไวไฟ 10 % LEL
สารพิษอันตราย (ppm)
ฝุ่นคิดไฟ หรือฝุ่นระเบิด
สภาวะอื่นๆ
ชนิดและประเภทของที่อับอากาศ
แบ่งตามขนาด
แบ่งตามรูปร่าง
ทรงกลม
ทรงกระบอก
ทรงสี่เหลี่ยม
แบ่งตามการใช้งาน
ภาคอุตสาหกรรม
ภาคการเกษตร
อุตสาหกรรมการก่อสร้าง
เครื่องจักรกล
งานสุขาภิบาล
อุบัติเหตุและอันตรายในที่อับอากาศ
1) บรรยากาศที่เป็นอันตราย
เกิดประกายไฟ ไฟไหม้
การขาดอากาศหายใจ
2.การได้รับบาดเจ็บจากอุบัติเหตุ
การชี้บ่งอันตรายและการควบคุมอันตรายในที่อับอากาศ
ขั้นตอนในการชี้บ่งอันตรายในงานที่อับอากาศ
1.พิจารณางานที่ต้องปฏิบัต
แบ่งขั้นตอนการทำงาน
3.ีระบุแหล่งอันตราย
4.ระบุลักษณะอันตราย
5.ระบุสาเหตุอันตราย
กำหนดมาตรการป้องกัน
ข้อเสนอแนะ
เทคนิคการตรวจสอบสภาพอากาศในที่อับอากาศ
Where ตรวจ “ที่ไหน
When “เมื่อไหร่”
ก่อนเริ่มปฏิบัติงาน
ขณะปฏิบัติงาน 30 นาที หรือ 1 ชม
หลังปฏิบัติงาน
What ตรวจหาอะไร
ระบบการขออนุญาติทำงาน
วัตถุประสงค์
1.Permit to Work System : ความหมาย,กฏหมาย
การจัดการ: บทบาทหน้าที่,แบบฟอร์ม
ขั้นตอนการปฏิบัต ก่อน ขณะ หลัง
ระบบการขออนุญาติ
การสื่อสาร
การวางแผน/เตรียมงาน
กำหนดผู้รับผิดชอบ
ป้องกันอันตราย
หลักการปฏิบัติงานในที่อับอากาศที่ปลอดภัย
ตรวจสอบอุบัติเหตุไฟฟ้าที่จะนำเข้าทำงานในที่อับอากาศ
การประเมินสภาพงานและการเตรียมความพร้อมในที่อับอากาศ
ิติดป้าย “ ที่อับอากาศอันตราย ห้ามเข้า” บริเวณทางเข้าที่อับอากาศ
การจัดเตรียมพื้นที่ก่อนเข้าปฏิบัติงาน
หลักการควบคุมระบบล็อคและระบบป้ายทะเบียน
ประเภท Tag (ป้ายทะเบียน)
สีขาว
สำหรับฝ่ายปฏิบัติการผลิต
สีแดง สำหรับฝ่ายซ้อมบำรุงไฟฟ้า
ส้ม สำหรับฝ่ายซ้อมบำรุงเครื่องกล
วิธีการใช้และขั้นตอนการแขวน-ปลดป้ายทะเบียน