Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การวิจารณ์วรรณกรรมเบื้องต้น, นางสาวณัฐชา พิมพ์ชารี 6340101107 …
การวิจารณ์วรรณกรรมเบื้องต้น
ความนำ
วรรณกรรมปฐมวัยที่ดี
มีวีธีการนำเสนอที่ง่าย
บรรยายไม่ยาวจนเกินไป
ตอบสนองต่อความสนใจของเด็ก
มีเรียงลำดับเรื่องราวที่ดี
ใช่ตัวละครที่ใกล้ตัวหรือที่เป็นที่สนใจ
เนื้อหาของวรรณกรรมเด็กที่สอดคล้องกับวัฒนธรรมศีลธรรม
มุ่งเสริมให้ผู้อ่านเกิดความคิดด้านบวก
ส่งเสริมการเรียนรู้
เด็กเกิดจินตนาการ
การนำวรรณกรรมมาใช้
ครู
ผู้ปกครอง พ่อ แม่
ความหมาย
นำหลักการที่ถูกต้องมาพิจารณา
แสดงความคิดเห็น
กล่าวถึงวรรณกรรมแต่ละชิ้น
มุ่งประโยชน์ให้เกิดเพื่อสร้างสรรค์วรรณกรรมให้มีคุณค่า
ลักษณะของนักวิจารณ์วรรณกรรมที่ดี
มีความรู้เกี่ยวกับวรรณกรรมที่จะวิจารณ์
รูปแบบของวรรณกรรม
หลักการใช้ภาษา
ความรู้ในเรื่องที่เกี่ยวข้องในวรรณกรรม
ประวัติศาสตร์
ประเพณี
วัฒนธรรม
วิทยาศาสตร์
ภูมิศาสตร์
มีความซื่อตรง
ไม่ใช้อคติส่วนตัว
วิจารณ์ด้วยหลักการและมุมมองที่เป็นกลาง
มุ่งเน้นให้เกิดการพัฒนา
เป็นผู้ค้นคว้าหาความรู้ใหม่ ทันสมัยและทันเหตุการณ์
การใช้ภาษาพูดหรือเขียน
ชัดเจนเข้าใจง่าย
สุภาพ
ใช้ภาษาอย่างเหมาะสม
แนวการวิจารณ์วรรณกรรมสำหรับเด็กปฐมวัย
เนื้อหา
เหมาะสมกับวัยและระดับชั้น
ความสนใจของเด็ก
มีความสนุกสนาน
การดำเนินเรื่องน่าสนใจ
ไม่ใช้การบรรยายมากเกินไป
ให้คุณค่าในด้านต่างๆอย่างครบถ้วน
ด้านวรรณศิลป์
ทำให้ผู้อ่านเกิดจินตนาการ
เด็กได้รับผลในทางอารมณ์และความรู้สึก
ความสดชื่น
เบิกบาน
ขบขัน
เพลิดเพลิน
ขบคิด
โศกเศร้า
ถูกใจ
ทำให้เกิดความรู้สึกในใจ
สร้างภาพคิดในสมองได้ดี
คุณค่าด้านสังคม
เด็กสามารถแก้ไขปัญหาในชีวิตประจำวันได้
เด็กสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้
มีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน
เด็กเล็ก มีความคิดรวบยอดเพียงอย่างเดียว
เด็กอายุ 4-6 ปี มีความคิดรวบยอดมากกว่าหนึ่งได้
และมีความสอดคล้องกัน
มีรูปแบบที่ชัดเจน
บทร้อยแก้ว
บทร้อยกรอง
สำนวนการใช้ภาษา
เป็นภาษาง่ายๆ ไม่ต้องนำมาแปลอีกครั้ง
การเขียนคำจะต้องถูกต้องตามหลักเกณฑ์ทางภาษา
ภาพประกอบ
เหมาะสมตามพัฒนาการของเด็กแต่ละวัย
เหมาะสมตามความสนใจของเด็ก
การใช้ภาพประกอบ
ภาพวาด
ภาพถ่าย
ภาพตัดแปะ
ขนาด
ตัวอักษร
ขนาดตัวอักษรประมาณ 20-30 พอยท์
ตัวอักษรมีรูปแบบที่ชัดเจนอ่านง่าย
ถูกต้องตามหลักเกณฑ์ทางภาษา
รูปเล่ม
ขนาด 8 หน้ายก (18.5 x 26 ช.ม.)
ขนาด 16 หน้ายกเล็ก (13 x 18.5 ซ.ม.)
ขนาด 16 หน้ายกใหญ่ (14.8 x 21 ซ.ม.)
จำนวนหน้าที่เหมาะสม
จำนวน 8 หน้า สำหรับเด็กเล็ก
จำนวน 8 - 16 หน้า สำหรับเด็กวัย 2 - 4 ปี
จำนวน 16 - 32 หน้า สำหรับเด็กวัย 5 - 6 ปี
การเข้าเล่ม
แข็งแรง
สะดวกในการที่เด็กนำไปอ่าน
ควรใช้กระดาษหนาทำปกเพื่อความแข็งแรงและคงทน
ประวัติและพัฒนาการ
ช่วงระยะเวลา
การวิจารณ์วรรณกรรมในยุคที่ 2 ( พ.ศ.2476 – 2490)
มีการสอนวิชาวรรณคดีวิจารณ์ในสถาบันการศึกษา
เริ่มรับเอาแบบอย่างการวิจารณ์ตามแบบอย่างตะวันตก
การวิจารณ์ในยุคเริ่มต้น (พ.ศ. 2419 – 2475)
มีการวิจารณ์วรรณกรรมเพิ่มขึ้น มีการก่อตั้งวรรณคดีสโมสร
การวิจารณ์วรรณกรรมโดยนักวิจารณ์รุ่นใหม่ มีการเผยแพร่บทวิจารณ์ตามหน้าหนังสือพิมพ์
การวิจารณ์ในยุคเริ่มต้น (พ.ศ. 2419 – 2475) ยังจำกัดแวดวงเฉพาะกลุ่ม จนสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 6)
การวิจารณ์วรรณกรรมในยุคที่ 3 ( พ.ศ.2491 – 2501)
ระยะนักวิจารณ์กลุ่ม ความคิด ศิลปะเพื่อชีวิต มีบทบาทอย่างมาก
รูปแบบการวิจารณ์เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม มีความเกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหวทางการเมือง
การวิจารณ์วรรณกรรมในยุคที่ 4 ( พ.ศ.2502 – 2515)
มีการเคลื่อนไหวในเรื่องการวิจารณ์วรรณกรรมซบเซา ในปีพ.ศ. 2508
หลังพ.ศ.2512 ได้นำเอาวรรณคดีวิจารณ์แผนใหม่จากตะวันตกเข้ามาวิจารณ์วรรณคดีไทย
มีการวิจารณ์คุณภาพทางด้านปัญญามากกว่าความบันเทิงใจ
การวิจารณ์วรรณกรรมในยุคที่ 5 ( พ.ศ.2516 – 2519)
นักวิจารณ์รุ่นใหม่ฟื้นฟู แนวคิดศิลปะเพื่อชีวิตมาเป็นแนว
การวิจารณ์แนวมาร์กซิส มีความเฟื่องฟูถึงขีดสุด
บรรยากาศในการวิจารณ์มีความคึกคักและเต็มไปด้วยความขัดแย้ง
นักวิจารณ์กลุ่มสังคมนิยม วิจารณ์เป็นเครื่องชี้นำความคิดทางการเมือง
กลุ่มอนุรักษ์นิยมและกลุ่มมนวทัศน์นิยม แก้ไขความขัดแย้งด้วยการเสนอแนวทางใหม่ๆในการวิจารณ์วรรณกรรม
การวิจารณ์วรรณกรรมในยุคที่ 6 ( พ.ศ.2520 – 2544)
ระยะที่การวิจารณ์แนวคิดศิลปะเพื่อชีวิต
แนวความคิดเสรีประชาธิปไตยกลับมาเป็นแนวความคิดหลัก
เมื่อพ.ศ.2525พัฒนาไปสู่ความมีศิลปะที่เป็นสากลมากขึ้นและดำเนินเข้าสู่ยุคโลกาภิวัตน์หรือยุคโลกไร้พรมแดน
มุ่งเน้นไปสู่ความเป็นมนุษย์นิยม ที่ประสบปัญหาใหม่ทางเทคโนโลยีกับชีวิต
วรรณกรรมไทยได้รับอิทธิพลมาจากตะวันตก
การแสดงความคิดเห็นในเชิงวิพากษ์วรรณกรรมนั้นมีขึ้นตั้งแต่สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
แสดงความคิดเห็นด้วยวาจา
แลกเปลี่ยนสนทนาในวงแคบ
แทรกความคิดไว้ในบทประพันธ์
นางสาวณัฐชา พิมพ์ชารี 6340101107
นางสาวพรสุดา โพธิ์แย้ม 6340101116
นางสาวศศิกาญจน์ เครือแก้ว 6340101124