Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
นโยบายกฎหมาย แผนผู้สูงอายุแห่งชาติ และจริยธรรมในการดูแลผู้สูงอายุ,…
นโยบายกฎหมาย แผนผู้สูงอายุแห่งชาติ
และจริยธรรมในการดูแลผู้สูงอายุ
เส้นทางนโยบาย กฎหมาย
ที่เกี่ยวข้องกับผู้สูงอายุไทย
กฎหมาย นโยบายที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับ
ผู้สูงอายุไทย
กฎหมาย หมายถึง กฎแห่งความประพฤติของมนุษย์ในสังคม ซึ่งทำหน้าที่ควบคุมความประพฤติของมนุษย์และบรรทัดฐานความประพฤติ
1) ปฏิญญาผู้สูงอายุไทย
ประกอบกับองค์การสหประชาชาติได้ประกาศให้เป็นปีสากลว่าด้วยผู้สูงอายุรัฐบาล องค์กรเอกชน ประชาชน และสถาบันต่างๆ
2) พระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546
เพื่อให้การด าเนินงานเกี่ยวกับการคุ้มครองการส่งเสริม และการสนับสนุนต่อสิทธิและประโยชน์ของผู้สูงอายุเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
3) แผนผู้สูงอายุแห่งชาติฉบับที่ 1 พ.ศ. 2525 - 2544
มองว่าผู้สูงอายุ
เป็นบุคคลที่ได้ทำคุณประโยชน์ต่อสังคมและสมควรได้รับการตอบแทน
4) แผนผู้สูงอายุแห่งชาติ ฉบับที่ 2 พ.ศ.2545 – พ.ศ.2564
ลักษณะเป็นแผนฯ ที่มีการบูรณาการ มีการกำหนด มาตรการ ดัชนีและเป้าหมายของมาตรการต่างๆ อย่างชัดเจน
5) แผนผู้สูงอายุแห่งชาติ ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2545 - 2564 ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1 พ.ศ.2552
ผู้สูงอายุไม่ใช่ผู้ด้อยโอกาสหรือเป็นภาระต่อสังคม แต่สามารถมีส่วนร่วม เป็นพลังพัฒนาสังคม
จึงควรได้รับการส่งเสริมและเกื้อกูลจากครอบครัว ชุมชน และรัฐ
6) สิทธิของผู้สูงอายุตาม
หลักการขององค์การสหประชาชาติ
6.1) การมีอิสระภาพในการพึ่งตนเอง
6.2) การมีส่วนร่วม
6.3) การอุปการะเลี้ยงดู
6.4) การบรรลุความต้องการ
6.5) ความมีศักดิ์ศรี
กฎหมาย นโยบายอื่นๆ ของประเทศไทยที่
เกี่ยวข้องกับการเตรียมความพร้อมของประชากร
ในการเข้าสู่วัยสูงอายุอย่างมีคุณภาพ
1) นโยบาย กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการสร้างหลักประกัน
ด้านสุขภาพและหลักประกันด้านรายได้
1.1) ปี พ.ศ. 2471 พระราชบัญญัติข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2471
1.2) ปี พ.ศ. 2530 พระราชบัญญัติกองทุนส ารองเลี้ยงชีพ พ.ศ. 2530
1.3) ปี พ.ศ.2533 พระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ.2533
1.4) ปี พ.ศ.2539 พระราชบัญญัติกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ พ.ศ.2539
1.5) ปี พ.ศ.2554 พระราชบัญญัติการออมแห่งชาติ(กอช.) พ.ศ.2554
1.6) ปี พ.ศ. 2544 กองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ (Retirement Mutual Fund ; RMF)
1.7) ปี พ.ศ.2547 กองทุนรวมหุ้นระยะยาว (Long Term Equity Fund: LTF)
ปัญหาจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลผู้สูงอายุ
การพยาบาลและองค์ประกอบทางจริยธรรมในการช่วยเหลือผู้สูงอายุ
1) ให้ความเคารพยกย่อง
2) ยอมรับความสูงอายุว่าเป็น
การเปลี่ยนแปลงตามวงจรชีวิตมนุษย
3) ส่งเสริมให้ผู้สูงอาย
4) ปฏิบัติการพยาบาลต่อผู้สูงอายุอย่าง
เท่าเทียมกับบุคคลในวัยอื่น
5) ปฏิบัติการพยาบาลโดยใช้หลัก
เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา
6) ศึกษาหาความรู้
และติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ
7) รักและศรัทธาในวิชาชีพ
1. พินัยกรรม
1) พินัยกรรมแบบเขียนเองทั้งฉบับ
2) พินัยกรรมแบบธรรมดา ต้องทำเป็นหนังสือ
3) พินัยกรรมแบบเอกสารฝ่ายเมือง
4) พินัยกรรมแบบเอกสารลับ
5) พินัยกรรมแบบวาจา
2.พินัยกรรมชีวิต (Living will)
เอกสารที่จัดทำขึ้นเพื่อแสดงเจตจำนงว่าเมื่ออยู่
ในสภาพที่ไม่สามารถตัดสินใจได้ด้วยตนเอง
3.การพยาบาลผู้ป่วยระยะสุดท้าย (End of life care)
ได้รับการดูแลรักษาเพื่อบรรเทาความเจ็บปวดทรมานอย่าง
เต็มที่ ได้ประกอบพิธีทางศาสนาตามความเชื่อของตน
4. เมตตามรณะ (Euthanasia)
Active Euthanasia คือ การที่แพทย์ฉีดยา ให้ยาหรือกระทำโดยวิธีการอื่นๆ
Passive Euthanasia คือ การที่แพทย์ปล่อยให้ผู้ป่วย
ที่สิ้นหวังตายโดยไม่ให้การรักษา
การทำทารุณกรรมในผู้สูงอายุ (Elderly Abuse)
การทารุณกรรมในบ้าน
1) ภาวะเครียดจากสถานการณ์การดูแล
2) ผู้ดูแลไม่พอใจที่ผู้ปุวยเป็นภาระ
3) ปัญหาในครอบครัว
4) ไม่มีเงินใช้จ่ายสำหรับสิ่งของจำเป็น
5) มีประวัติการทารุณกรรมในครอบครัว
6) ปัญหาสัมพันธภาพระหว่างผู้ดุแลและผู้สูงอายุ
7) มีปัญหาพฤติกรรมส่วนตัว
ทารุณกรรมในสถานบริการ
1) บุคลากรมีภาวะเครียดจากสถานการณ์การทำงาน
2) บุคลากรมีภาวะเหนื่อยล้าจากการทำงาน
3) ผู้ปุวยมีอาการก้าวร้าว ซึ่งอาจมาจากอาการของโรค
4) บุคลการมีทัศนคติที่ไม่ดีต่อผู้สูงอาย
การทารุณกรรมทางร่างกาย (physical abuse)
1) การจู่โจมเข้าทำร้าย
.2) การชกต่อย
3) ให้ยาโดยไม่มีเหตุผลอันสมควร
4) ทำโทษทางด้านร่างกาย
การทารุณกรรมทางเพศ (sexual abuse)
1) การแตะต้องตัวโดยไม่ได้รับความยินยอม
.2) การใช้ประโยชน์จากการที่ผู้ถูกกระทำ
3) การลวนลามทางเพศ
การทารุณกรรมทางด้านจิตใจ
1) การด่าทอ
2) การข่มขู่
3) การกีดกันผู้สูงอายุทั้งทางร่างกายและสังคม
4) ห้ามผู้สูงอายุไม่ให้พูด
การทอดทิ้ง (Neglect)
1) ไม่ให้สิ่งที่จำเป็นในชีวิต เช่น อาหาร
2 ไม่ดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
นางสาวภิญญารัตน์ เปลี่ยนจันทึก รหัสนักศึกษา 621201145