Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การสอนเกี่ยวกับความรู้ความเข้าใจและประสบการณ์ - Coggle Diagram
การสอนเกี่ยวกับความรู้ความเข้าใจและประสบการณ์
(1)มีการสอนอยู่2ทฤษฏี
1 กลุ่มปัญญานิยม
เน้นสอนการแปลไวยากรณ์
เน้นให้ผู้เรียนเข้าใจกฎของภาษา
เน้นให้ผู้เรียนตระหนักรู้ด้วยตัวเอง
2 กลุ่มประสบการณ์นิยม
เน้นให้ผู้เรียนลอกเลียนแบบ
เน้นให้ผู้เรียนฝึกฝนบ่อยๆจนเกิดเป็นความเคยชิน
(2)ทั้ง2ทฤษฏีนี้ เกิดขึ้นในยุค 70 (1970-1979) เกิดผลกระทบเป็นวงกว้างเกี่ยวกับการสอนภาษาจึงทำให้เกิดหลักการสอนที่ไม่เหมือนกัน เพราะแต่ละทฤษฎีเน้นการสอนไม่เหมือนกัน
อธิบายการเกิดทฤษฎีต่างๆตามลำดับ วิเคราะห์กันเกี่ยวกับความเป็นมาของทฤษฎีแต่ละทฤษฎีดี/ด้อย ยังไง มีความพิเศษ/ลักษณะเฉพาะยังไงบ้างแต่ละวิชาจะมีแนวโน้มไปทางไหนแนะนำว่าแต่ละวิชามีอะไรบ้าง
(3)สอนแบบแปลไวยากรณ์ คือ สอนแบบดั้งเดิม
เน้นหลักไวยากรณ์เป็นสำคัญ ใช้ภาษาแม่ เสริมสร้างให้ผู้เรียนอ่านและเขียนได้
เป็นวิธีที่เก่ามากเมื่อก่อนใช้ในยุโรปสอนภาษาละตินโบราณ
เมื่อเข้าศตวรรษที่18(1980-1989)ยังมีการสอน ฝรั่งเศส,อิตาลี,อังกฤษ ผ่านมา20กว่าปีก็ยังคงใช้วิธีเก่าแก่แบบนี้อยู่
𝐇. 011endorff เขาได้สรุปและเอาไปทำจนกลายเป็นระบบการเรียนการสอนของภาษาที่2
การสอนแบบแปลไวยากรณ์ = เปรียบเทียบระหว่างประวัติศาสตร์กับการเรียนภาษา เริ่มต้นที่จุดเดียวกัน แต่เวลาเขียน/พูดต่างกัน ที่ไม่เหมือนคือ ออกเสียง/การเขียน การสื่อความตรงกัน
ดังนั้นเมื่อผ่านการแปล 2 ภาษา การแทนที่ความสัมพันธ์ไวยากรณ์ แค่แปลศัพท์ 2 ภาษา และ การแทนที่ของไวยากรณ์ได้ก็เข้าใจภาษาอื่น
พื้นฐานจิตวิทยาเริ่ม ศตวรรษที่18 มาจากผู้เชี่ยวชาญ𝐇. 011endorff เขาเชื่อว่าแม้จิตวิญญาญจะเหมือนกันไม่ได้แบ่งแยก แต่สามารถเป็นไปตามความสามารถได้ เช่น ความรู้ ความรู้สึก อำนาจการตัดสินใจการฝึกฝนของแต่ละคนเพื่อนำไปสู่การพัฒนา เช่น ภาษาละตินที่ซับซ้อนเข้มงวดสามารถใช้ในการฝึกความจำของผู้เรียนทำให้เกิดทักษะการคิดวิเคราะห์ได้ละเอียดมากขึ้น
𝐇. 011endorff เขาได้สรุปและเอาไปทำจนกลายเป็นระบบการเรียนการสอนของภาษาที่2
(4) คุณสมบัติหลักของวิธีการแปลไวยากรณ์คือ:
เป้าหมายหลักคือการเข้าใจภาษาเขียนของภาษาเป้าหมาย ปลูกฝังทักษะการอ่านและการเขียน และพัฒนาสติปัญญา และไม่ใส่ใจในการสอนภาษาพูดและทักษะการฟัง
ความรู้ที่เป็นระบบของหลักไวยากรณ์ เอาหลักนี้มาเป็นหลักการเรียน-สอนเป็นสำคัญ กฎของหลักไวยากรณ์ ต้องนำไปสู่การวิเคราะห์อย่างละเอียด ให้ผู้เรียนจำจนขึ้นใจและให้ฝึกหัดการแปลบ่อยๆ
การเลือกคำศัพท์มาใช้แปลต้องดูเนื้อหาที่เรียนให้สอดคล้องเหมาะสม
การสอนแปลไวยากรณ์ เอาภาษาแม่มาเป็นหลัก ในการสอน เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจจึงจำเป็นต้องใช้ กระบวนการสอนที่ใช้การแปลเป็นหลักเกี่ยวกับการประเมินค่า
เน้นให้ผู้เรียน เรียนรู้กฎภาษาเขียน เน้นให้อ่านวรรณกรรมที่มีชื่อเสียงซึมซับเทคนิค
การสอนแบบแปลไวยากรณ์มี5ขั้นตอน อธิบายคำศัพท์/ประโยค/ช่วยกันวิเคราะห์กฎของหลักไวยากรณ์ในขณะเดียวกันที่อธิบายกฏให้ฝึกฝนการแปล เพื่อจัดหลักการแปลได้ อธิบายประโยคต่อประโยค เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจได้
วิธีการสอนแบบแปลไวยากรณ์ ในตอนนี้ก็เป็นการสอนแบบสมบูรณ์แบบ เน้นพัฒนาสติปัญญาของผู้เรียน ฝึกให้ผู้เรียนมีทักษะ เกิดเป็นข้อดีหลักของทฤษฏี เหตุผลนิยม เพราะเรียนไวยากรณ์ต้องใช้หลักเหตุผล
การสอนภาษาต่างประเทศในปัจจุปัน เมื่ออยู่ในระดับที่สูงขึ้นกว่าระดับ ฟัง พูด อ่าน เขียน ใช้สอนในการแปลได้การสอนนี้เหมาะกับวิชาการแปล/การอ่าน
(5)จุดบกพร่องของวิชาการแปล
เวลาเรียนภาษาหลักการ ฟัง-พูด-อ่าน-เขียน มักจะละเลยการพูดและการออกเสียงวิธีนี้มักละเลยการพูดออกเสียง รวมถึงทักษะการพูด
พึ่งภาษาแม่และการแปลมากเกินไป/เน้นความรู้ทางไวยากรณ์มากเกินไป/ไม่ค่อยให้ความสำคัญความหมาย/เนื้อหาการสอนเจาะลึกน่าเบื่อและยากเกินไป วิธีการนี้ไม่ค่อยเอื้อต่อทักษะการสื่อสาร
วิธีการนี้ การสอนพัฒนาไปได้เรื่อยๆเอาวิธีอื่นมาร่วมด้วยใน ศตวรรษที่20 ทำให้เกิดการสอนใหม่ๆเกิดขึ้น
เน้นการอ่านการแปลและยังเสริมให้ต้องฟัง-พูดด้วย = การสอนสมัยใหม่
การเรียนเริ่มจากการ ออกเสียงก่อน→คำศัพท์-หลักไวยากรณ์=เป็นจุดเด่นการสอนแบบแปลไวยากรณ์