Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 2 สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม - Coggle Diagram
หน่วยที่ 2 สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตสัมพันธ์
1.โครงสร้างและลักษณะของสิ่งมีชีวิตในแหล่งที่อยู่
โครงสร้างของพืชที่เหมาะสมต่อการดำรงชีวิตในแหล่งที่อยู่
ผักตบชวา
กระบองเพชร
โกงกาง
บัว
โครงสร้างของสัตว์ที่เหมาะสมต่อการดำรงชีวิตในแหล่งที่อยู่
ตั๊กแตนใบไม้
หมีขั้วโลก
อูฐ
ปลา
2.ความสัมพันธ์ในสิ่งแวดล้อม
2.1ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต
1.ด้านแหล่งที่อยู่อาศัย
กวางอาศัยในป่า, กระรอกเจาะโพรงอาศัยในต้นไม้, พูลด่างใช้รากเกาะที่เปลือกของต้นไม้
2.ด้านแหล่งอาหาร
วัวกินหญ้าในทุ่งหญ้าเป็นอาหาร
3.ด้านแหล่งสืบพันธุ์และเลี้ยงดูลูกอ่อน
รังนกบนต้นไม้
4.ด้านแหล่งหลบภัย
เช่น ปลาการ์ตูนซ่อนตัวในดอกไม้ทะเล, ปะการังเป็นที่หลบภัยของสัตว์น้ำ
2.2ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งไม่มีชีวิต
แสง
อากาศ
อุณหภูมิ
น้ำ
ดินและแร่ธาตุ
3.การถ่ายทอดพลังงานของสิ่งมีชีวิต
โซ่อาหาร
ผู้ผลิต
คือ สิ่งมีชีวิตที่สร้างอาหารได้เอง โดยได้รับพลังงานแสงอาทิตย์ นำไปใช้ในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงเพื่อสร้างอาหารในการดำรงชีวิต
ได้แก่ สาหร่ายและพืชต่างๆ เช่น ข้าว หญ้า
ผู้บริโภค
ผู้บริโภคพืช
สัตว์กินพืช ได้แก่ หนอน ตั๊กแตน วัว กระต่าย
ผู้บริโภคสัตว์
สัตว์กินสัตว์อื่น ได้แก่ สิงโต งู เสือ จระเข้ เหยี่ยว
ผู้บริโภคพืชและสัตว์
สัตว์กินทั้งพืชและสัตว์ ได้แก่ ไก่ เป็ด หมู หนู หมี ลิง เต่า คน
คือ สิ่งมีชีวิตที่ไม่สามารถสร้างอาหารได้เอง จึงต้องกินพืชหรือสัตว์อื่นเป็นอาหาร เพื่อให้ได้พลังงานในการดำรงชีวิต แบ่งเป็น 3 ชนิด
ผู้ย่อยสลาย
สิ่งมีชีวิตขนาดเล็ก ทำหน้าที่ย่อยสลายซากพืชซากสัตว์ที่ตายแล้วให้เป็นแร่ธาตุคืนสู่ดิน เช่น แบคทีเรีย เห็ด รา
คือ ความสัมพันธ์ของกลุ่มสิ่งมีชีวิตที่กินต่อกันเป็นทอดๆ จากผู้ผลิตสู่ผู้บริโภค ทำให้มีการถ่ายทอดพลังงานในอาหารต่อเนื่องเป็นลำดับ
ผู้บริโภคซากสัตว์
คือ สัตว์ที่กินสัตว์ที่ตายแล้วเป็นอาหาร เช่น แร้ง ไส้เดือนดิน กิ้งกือ
4.ความสำคัญของสิ่งแวดล้อม
จิตสำนึกที่ดีในการรักษาสิ่งแวดล้อม
1.สร้างจิตสำนึกของคนในชุมชนให้รักและหวงแหน
2.ช่วยกันเฝ้าระวังและคอยดูแล
3.ช่วยกันรักษาและไม่บุกรุกพื้นที่ป่าไม้
หมายถึง สิ่งต่างๆ ที่อยู่รอบตัวเรา ทั้งสิ่งมีชีวิต สิ่งไม่มีชีวิต สิ่งที่มองเห็นได้ด้วยตาเปล่า และไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า รวมทั้งที่เกิดตามธรรมชาติและมนุษย์สร้างขึ้น
ตัวอย่างการทำลายสิ่งแวดล้อม
ไฟไหม้ป่า, การตัดต้นไม้, การปล่อยน้ำเสีย
ทำไรเลื่อนลอย, การระเบิดภูเขา
บทที่ 2 ลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต
1.ลักษณะทางพันธุกรรมของมนุษย์
ผม
ผมหยิกหยักศก
ผมเหยียดตรง
หนังตาบน
ชั้นเดียว
สองชั้น
ลิ้น
ห่อได้
ห่อไม่ได้
ลักยิ้ม
มี
ไม่มี
ติ่งหู
มี
ไม่มี
หัวแม่มือ
งอน
ไม่งอน
ขวัญ
ขวัญเดียว
สองขวัญ
ความแปรผันทางพันธุกรรม
เช่น ลักษณะความสูง พ่อแม่เตี้ย แต่ลูกสูงเพราะได้รับสารอาหารที่ดี
ตัวเราและพี่น้องอาจมีลักษณะบางอย่างคล้ายกับพ่อแม่ แต่บางอย่างแตกต่างกัน เรียกว่า ความแปรผันทางพันธุกรรม
เกรเกอร์ โยฮันน์ เมนเดล บิดาแห่งวิชาพันธุศาสตร์
ลักษณะต่างๆ ของสิ่งมีชีวิตถูกควบคุมโดยยีนที่อยู่ในเซลล์สืบพันธุ์
รูปแบบของยีน เรียกว่า แอลลีล
การถ่ายทอดลักษณะแต่ละลักษณะเป็นอิสระต่อกัน ไม่เกี่ยวข้องกับลักษณะอื่น
ลักษณะเด่น คือ ลักษณะที่ปรากฏออกมาในรุ่นลูก
ลักษณะด้อย คือ ลักษณะที่ปรากฏออกมาในรุ่นหลาน
สัดส่วนของลักษณะเด่นต่อลักษณะด้อย จะเป็น 3 : 1 เสมอ
2.การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของสัตว์
สัตว์ชนิดเดียวกันจะมีพันธุกรรมคล้ายกัน เช่น สีขน ลักษณะขน ใบหู เท้า สีตา
ในรุ่นลูก หากกระต่ายมีลูก 4 ตัว รุ่นลุกจะปรากฎลักษณะเด่นทุกตัว ซึ่งขนสีดำคือลักษณะเด่น หากกระต่ายในรุ่นลูกผสมกัน รุ่นหลานจะมีสัดส่วนลักษณะเด่นลักษณะด้อย 3 : 1 คือ ขนสีดำ 3 ตัว ขนสีขาว 1 ตัว
3.การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของพืช
ลักษณะพันธุกรรมของพืชได้รับถายทอดมาจากรุ่นบรรพบุรุษ เช่น โครงสร้างลำต้น สีของดอก รูปร่างของใบ ความสูงของต้น
ในรุ่นที่ 1 เกิดการรวมตัวของเซลล์สืบพันธุ์พ่อกับแม่ จะมีลักษณะเด่นทุกต้น คือ ความสูงของต้นพืช ในรุ่นที่ 2 หากต้นพืชในรุ่นลูกผสมกัน รุ่นที่ 2 จะมีสัดส่วนลักษณะเด่นลักษณะด้อย 3 : 1 คือ ต้นสูง 3 ต้น ต้นเตี้ย 1 ต้น