Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทบาทพยาบาลในการดูแลรักษาและฟื้นฟูสภาพ ผู้ที่มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช,…
บทบาทพยาบาลในการดูแลรักษาและฟื้นฟูสภาพ
ผู้ที่มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช
จิตเภสัชบําบัดและการใช้ยาอย่างสมเหตุผล
ยารักษาโรคจิต
(Antipsychotic drugs)
Phenothiazine
derivatives
Chlopromazine (Largactil)
ลดอาการอาเจียนได้ ทางจิตเวชใช้ควบคุมอาการตื่นเต้น วุ่นวาย และลุกลี้ลุกลน
Promazine (Sparine)
Trifluoperazine (Stelazine, Triflazine, Triplex)
ผู้ป่วยที่แยกตัวเอง เชื่องช้า ลุกลี้ลุกลน และผู้ป่วยที่มีอาการหลงผิด ประสาทหลอน มีความวิตกกังวลเรื้อรัง
Thioridazine (Melleril)
มีผลทําให้สงบและนอนหลับได้ บรรเทาอาการวิตกกังวล ตึงเครียด
Perphenazine (Trilafon, Permazine, Perphisil)
ใช้กับพวกลุกลี้ลุกลน และอารมณ์ผิดปกติ
Fluphenazing (Anatensol, Permitil, Prolicin)
ใช้กับผู้ป่วยจิตเภท หรือผู้ป่วยที่มีอาการทางจิตเรื้อรัง
Butyrophenone derivatives
ควบคุมอาการตื่นเต้น ก้าวร้าว ประสาทหลอน หลงผิด หวาดระแวง ฤทธิ์ข้างเคียงที่สําคัญ คือ Extrapyramidal symptom
อาการข้างเคียงของ
Antipsychotic drugs
ฤทธ์ต่อระบบประสาทอัตโนมัติ ได้แก่ ปากแห้ง ตาพร่า ท้องผูก
ปัสสาวะไม่ออก บางรายปัสสาวะมาก ความดันต่ำ
Extrapyramidal symptom
ระบบประสาทส่วนอื่นๆ มีอาการง่วงนอน ชัก
อาการแพ้ มีอาการดีซ่าน ตัวเหลือง ตาเหลือง
ระบบเลือด ผิวหนัง ตา อาจจะเกิดอาการเม็ดเลือดขาวลดน้อยลง ผู้ป่วยมีอาการไวต่อแสง ทําให้ผิวหนังไหม้คล้ายถูกแดดเผา
ระบบต่อมไร้ท่อ ในผู้หญิงอาจมีน้ํานมหลั่งออกมา ประจําเดือนอาจขาดไปหรือช้า น้ําหนักตัวเพิ่ม ในผู้ชายอาจจะไม่มีความรู้สึกทางเพศ
Neuroleptic Malignant Syndrome (NMS) มีการเกร็งของกล้ามเนื้ออย่างรุนแรง มีไข้สูง หัวใจเต้นเร็ว ความดันโลหิตไม่คงที่ เหงื่อออกมาก ปัสสาวะน้อย
การพยาบาล
ดูแลให้ได้รับตรวจวัดความดันโลหิต ตรวจการทํางานของตับ ปริมาณเม็ดเลือด (CBC) และตรวจวัดสายตาก่อนได้รับยาและหลัง ได้รับยา
หลีกเลี่ยงการสัมผัสกับยาโดยตรง การฉีดต้องแดเข้ากล้ามเนื้อมัดใหญอย่างช้าๆ และเปลี่ยนบริเวณฉีดทุกครั้ง
ยากลุ่มออกฤทธิ์ระยะสั้น หลังจากฉีดเข้ากล้ามเนื้อ จึงควรให้ผู้ป่วยนอนพัก พร้อมกับวัดความดันโลหิต
ยากลุ่มออกฤทธิ์ระยะยาว สําหรับผู้ป่วยบางรายที่มีปัญหาความร่ว มมือในการรับประทานยา
สังเกตผลการรักษา ความร่วมมือในการกินยา อาการข้างเคียง ปฏิกิริยาของยากับยาตัวอื่น
ให้ความรู้กับผู้ป่วยและญาติเกี่ยวกับการปฏิบัติตัว
ยารักษาอาการซึมเศร้า
(Antidepressant drugs)
Conventional
antidepressant
Monoamine Oxidase inhibitors (MAOI)
Tricyclic antidepressants
ข้อบ่งใช้
: โรคซึมเศร้า โรคประสาทกลัว ปัสสาวะรดที่นอน
อาการข้างเคียง
: ง่วงนอน คอแห้ง ท้องผูก มือสั่น หงุดหงิด กระสับกระส่าย ความดันโลหิตต่ำ
Secondary generation
antidepressants
Bicyclic antidepressants
Tetracyclic antidepressants
Serotonin Reuptake Inhibitors
ข้อบ่งใช้
: โรคซึมเศร้า โรคย้ำคิดย้ำทำ โรคทางจิตเวช ภาวะอารมณ์ผิดปกติก่อนมีประจําเดือน
การพยาบาล
รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับระดับอารมณ์ซึมเศร้า
สังเกตและบันทึกอาการข้างเคียง
ตรวจสอบและติดตามการมีปฏิกิริยาร่วมกับยาตัวอื่น ๆ
ยาในกลุ่ม TCAs สังเกตผลของการรักษา ควรได้รับการตรวจหาระดับยาในกระแสเลือด
ให้คำแนะนำผู้ป่วย คือ ไม่ควรปรับขนาดหรือหยุดยาเอง หลีกเลี่ยงการออกกำลังกายอย่างรุนแรง หลีกเลี่ยงยาที่มาเสริมฤทธิ์กัน
ยาควบคุมอารมณ์
(Mood-stabilizing drug)
Lithium Carbonate
ข้อบ่งใช้
: รักษา Mania ป้องกันการเป็นซ้ำของโรค Bipolar disorder
ข้อควรระวัง
: ไม่ควรใช้ในผู้ป่วยโรคไต ผู้ที่มีปัญหาทางหัวใจ ภาวะสมองถูกทำลาย ขาดน้ำอย่างรุนแรง ตั้งครรภ์ 3 เดือนแรก
อาการข้างเคียง
ที่ไม่เป็นอันตราย ได้แก่ คลื่นไส้ เบื่ออาหาร อ่อนเพลีย กระหายน้ำ ปัสสาวะลำบาก
หากพบลิเธียม 1.5-2 mEq/L จะมีอาการ เบื่ออาหาร อาเจียน ท้องเดิน สับสน เดินเซ พูดไม่ชัด ควรหยุดยาทันที
ถ้าพบลิเธียม 2-2.5 mEq/L จะมีอาการพิษจากลิเธียม
ถ้าพบลิเธียม > 2.5 mEq/L จะมีอาการหัวใจล้มเหล ความดันโลหิตต่ำมาก มีไข้สูงมาก ไม่รู้สึกตัว ชัก อาจเสียชีวิตได้
การพยาบาล
ควรรับประทานยาระหว่างมื้ออาหารหรือหลังอาหารทันที
ตรวจหาระดับของลิเธียม สัปดาห์ละ 2 ครั้ง จนกว่าจะมีระดับคงที่ ระดับยาที่เหมาะสมควรอยู่ระหว่าง 0.6-1.3 mEq/L
ในระยะแรกของการได้รับยาต้องใช้ยากลุ่มรักษาอาการทางจิตควบคุมอาการไปก่อน และต้องสังเกตประเมินลักษณะอารมณ์ของผู้ป่วย
ติดตามและประเมินอาการข้างเคียง
แนะนำผู้ป่วยและญาติในการปฏิบัติตัว
ยาคลายกังวล
(Anxiolytic, Antianxiety drug)
ข้อบ่งใช้
โรคทางจิตเวชที่มีอาการกังวล
ใช้เป็นยานอนหลับ
ใช้รักษา Delirium tremens จากการขาดสุรา
โรคลมชัก
โรคของ Neuromuscular ที่มีอาการเกร็งกล้ามเนื้อ
อาการก้าวร้าวรุนแรง
ข้อควรระวัง
ในผู้ป่วยที่ปัญหาระบบทางเดินหายใจ โรคไต โรคตับ มีอาการซึมเศร้ามากๆ ผู้ที่เสพสารเสพติด ผู้ที่ตั้งครรภ์ 3 เดือนแรก
อาการข้างเคียง
ง่วงนอน ความคิดช้า สับสน ตื่นเต้น วุ่นวาย ศีรษะหมุน ผื่นตามผิวหนัง คลื่นไส้ อาเจียน
การพยาบาล
ควรให้ยาเฉพาะก่อนนอน เพื่อไม่ให้รบกวนการทำกิจกรรม
กรณีฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อให้ฉีดเข้ากล้ามเนื้อมัดใหญ่และฉีดลึกให้เพียงพอ
สังเกตอาการข้างเคียงและติดตามผลการรักษา
ยา Lorazepam ใช้อมใต้ลิ้นจะดูดซึมเร็วกว่ากลืนทางปาก
ให้คำแนะนำ คือ ไม่ควรปรับเปลี่ยนขนาดยา หลีกเลี่ยงการรับประทานร่วมกับเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ยาแก้แพ้ อย่าหยุดยากะทันหัน
การรักษาด้วยไฟฟ้า
ข้อบ่งใช้ในการรักษา
ผู้ป่วยที่มีอาการเศร้าทุกชนิด และเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย
โรคจิตเภทชนิดที่คลั่ง
โรคจิตในวัยเสื่อมในระยะเศร้า
ความผิดปกติของอารมณ์ทั้งในระยะคลั่งและระยะเศร้า
ข้อห้ามใช้
Brain tumor, โรคของระบบประสาท
โรคทางระบบหัวใจและหลอดเลือด เช่น ความดันโลหิตสูง หอบ กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด
วัณโรคระยะรุนแรง
ผู้ป่วยที่เป็นกระดูก
การติดเชื้อที่มีไข้สูง
เครื่องมือที่ใช้
เครื่อง ECT ที่ให้คลื่นไฟฟ้าแบบ Brief-pulse
Electrodes 2 อัน
วางบริเวณ Temporal lobe
วางบริเวณศีรษะข้างเดียวกับมือที่ถนัด
Airway
Jelly หรือ น้ำเกลือ NSS หรือ electrolytes
Emergency set
หมอนทราย
ผ้ายาง,ผ้าขนหนูผืนเล็กแช่น้ำเย็น
Oxygen
เครื่อง suction
ฉากกั้น
เข็มฉีดยา, syring
เตรียมยา : sedative, Muscle relaxant, Emergency drugs
ขนาดของไฟฟ้าที่ใช้
ประมาณ 70-130 โวลท์ ในเวลา 0.1-0.5 วินาที
จำนวนครั้งที่ใช้
Affective disorder
Major depression ประมาณ 6-8 ครั้ง
Mania ประมาณ 8-10 ครั้ง
Schizophrenia ประมาณ 12-18 ครั้ง
Schizophrenia affective disorder ประมาณ 10-12 ครั้ง
วิธีการทำ ECT
Modified Method
: การทําให้ผู้ป่วยหมดความรู้สึก โดยการฉีดยาให้หลับและตามด้วยการฉีดยาให้กล้ามเนื้อคลายตัวก่อนปล่อยกระแสไฟฟ้า
Unmodified Method
: การทํา ECT โดยผู้ป่วยยังรู้สึกตัว
บทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบของพยาบาล
ในการรักษาด้วยไฟฟ้า
การเตรียมผู้ป่วยก่อนทํา
ให้ญาติเซ็นใบยินยอม
เตรียมทางด้านจิตใจ
เตรียมด้านร่างกาย
การพยาบาลหลังทำ ECT
จัดท่านอนหงายราบ เอียงศีรษะไปด้านใดด้านหนึ่ง
สังเกตอาการอย่างใกล้ชิดระวังการหยุดหายใจ ให้นอนพัก เช็ดหน้าด้วยผ้าเย็น ทดสอบความรู้สึก
ดูแลผู้ป่วยที่มีอาการงุนงงหลงลืม
ถ้าผู้ป่วยปวดศีรษะ ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อมาก ให้ผู้ป่วยได้นอนหลับพักผ่อน แพทย์อาจสั่งให้ยาแก้ปวด
ลงบันทึกเกี่ยวกับอาการก่อนทํา ขณะทําและหลังทํา ระยะเวลาชัก
การผูกยึดและการจํากัดพฤติกรรม
พฤติกรรมที่ต้องผูกมัด
พฤติกรรมในรูปของการทําลาย
พฤติกรรมสับสนวุ่นวาย แปลกๆ อาจเป็นพฤติกรรมถดถอย
พฤติกรรมที่แสดงออกมาจากผลของความขัดแย้งในใจ
พฤติกรรมที่แสดงถึงความไม่สบายต่าง ๆ
พฤติกรรมที่ต้องยึดผู้อื่นเป็นที่พึ่งพิง
การผูกมัด โดยใช้เจ้าหน้าที่ประมาณ 3-5 คน
การใช้ยาและการจํากัดขอบเขต
การพยาบาล
ทีมผู้รักษาต้องมีทัศนคติที่ดีต่อผู้ป่วย ทั้งคําพูด และท่าทาง
ให้ความนับถือผู้ป่วย ควรบอกผู้ป่วยทุกครั้งที่จะจํากัดพฤติกรรม ระยะเวลา
การจํากัดพฤติกรรมควรใช้คําพูดก่อน ถ้าไม่ได้ผลจึงจะใช้วิธีผูกมัด
ขณะที่ควบคุมผู้ป่วย พยาบาลต้องไม่พูดหรือแสดงกิริยาดูถูกว่าผู้ป่วยพูดไม่รู้เรื่อง แตีอธิบายให้เข้าใจว่าเป็นการช่วยผู้ป่วย
ดูแลผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด ไม่ทอดทิ้งให้อยู่คนเดียว
การจัดสิ่งแวดล้อมเพื่อการบําบัด
(Milieu therapy)
ลักษณะของ Milieu therapy
มีโปรแกรมสําหรับการรักษาที่เหมาะสม
มีรูปแบบการปกครองตนเอง เพื่อฝึกให้ผู้ป่วยมีความรับผิดชอบ และรู้จักพึ่งพาตนเอง
มีความหลากหลายของกิจกรรมบําบัด
มีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกับครอบครัวและชุมชน
ทีมสุขภาพจิตต้องร่วมกันทํางานและมีความเป็นมนุษย์ในตนเอง
วัตถุประสงค์ของ Milieu therapy
ช่วยให้ผ้ป่วยเกิดทัศนคติที่ดีต่อทีมสุขภาพจิต
เพื่อให้ผู้ป่วยอยู่ในสภาพที่ปลอดภัย และได้รับการยอมรับ
เพื่อเพิ่มความแข็งแกร่งของจิตใจ
เพื่อให้ผ้ป่วยสามารถปรับตัวเข้ากับสภาพสังคม
เพื่อพัฒนาและเสริมสร้างคุณค่าในตัวเอง
หลักการในการจัดสิ่งแวดล้อมเพื่อการบําบัด
ยึดหลักการอํานวยความสะดวกสบายตามสภาพของสถานที่
สมาชิกทุกคนในทีมผู้บําบัดต้องแสดงตนเป็นแบบอย่าง
การแต่งกายของพยาบาลไม่ยึดหลักการแสดงสัญลักษณ์ของความเจ็บป่วย คือ การสวมยูนิฟอร์มสีขาว
โปรแกรมนิเวศบําบัด โดยความร่วมมือระหว่างผู้ป่วยกับผู้บําบัด กลุ่มบําบัดและกิจกรรมบําบัด
กลุ่มบําบัดแต่ละชนิดควรมีจํานวนที่เหมาะสม
การตัดสินใจทุกอย่างของผู้ป่วยและผู้บําบัดจะต้องเห็นชอบด้วยกันทั้ง 2 ฝ่าย
การจัดกิจกรรมในนิเวศบําบัด ต้องคํานึงถึงความเหมาะสม
ในการทํางานหากมีสิ่งบกพร่องเกิดขึ้น ผู้บําบัดจะปักความรับผิดชอบ หรือยกเลิกกิจกรรมนั้น ๆ เลยไม่ได้
การชี้ข้อบกพร่องของสมาชิกในกลุ่ม ควรกระทํากันต่อหน้าผู้มีส่วนร่วมในกิจกรรมทุกคนและควรทําในขณะปัญหานั้นๆ เกิดขึ้นทันที
องค์ประกอบของสิ่งแวดล้อมที่
เป็นการบําบัดผู้ป่วย
สิ่งแวดล้อมที่เป็นวัตถุ
สภาพของโรงพยาบาลและหอผู้ป่วย ต้องมีความสะดวกสบาย และรู้สึกปลอดภัย จัดเป็นสัดส่วน
ผู้ป่วยมีอิสระในการไปไหน หรือการกระทําส่ิงใดตามความเหมาะสม
บรรยากาศในหอผู้ป่วย ควรมีความอบอุ่นเป็นมิตร
ส่ิงแวดล้อมด้านบุคคล
ผู้ให้การรักษา
ผู้ป่วย
สัมพันธภาพระหว่างบุคคลในหน่วยรักษา
บทบาทของพยาบาล
เป็นแบบอย่างที่ดีในด้านการตอบสนองทางอารมณ์
การตอบสนองต่อผู้ป่วยควรอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานของสังคมทั่วไป
เป็นแบบอย่างที่ดีในด้านพฤติกรรมทางสังคม
กิจกรรมบําบัดเพื่อฟื้นฟูสภาพผู้ป่วยจิตเวช
(Activity Therapy)
ความสําคัญของกลุ่มกิจกรรมบําบัด
สามารถเรียนรู้เกี่ยวกับความเจ็บป่วยของตนเองจากการพูดคุยกับสมาชิกในกลุ่ม ทําให้ผู้ป่วยลดความวิตกกังวล สามารถเรียนรู้เลียนแบบพฤติกรรมทางสังคมที่เหมาะสม
จุดมุ่งหมายในการจัดกลุ่มกิจกรรมบําบัด
เพื่อป้องกันการถดถอย
เพื่อให้ผู้ป่วยเกิดความเชื่อมั่นในตนเอง
เพื่อให้ผู้ป่วยเกิดความรู้สึกภาคภูมิใจในตนเอง
เพื่อให้ผู้ป่วยมีการติดต่อสื่อสารกับผู้ป่วยอื่น ๆ
เพื่อให้ผู้ป่วยรู้สึกว่าตนเองมีคุณค่าเป็นที่ยอมรับ
เพื่อให้ผู้ป่วยมีโอกาสระบายความรู้สึก
เพื่อให้ผู้ป่วยอยู่ในความเป็นจริง
เพื่อให้ผู้ป่วยได้รู้จักตนเองรู้ถึงความสามารถของตนเอง
ให้เกิดความสนุกสนานเพลิดเพลิน และผ่อนคลายความตึงเครียด
เพื่อช่วยในการประเมินปัญหาและความต้องการของผู้ป่วย
หลักการรักษาด้วยกลุ่มกิจกรรมบําบัด
สนองความต้องการขั้นพื้นฐาน
ป้องกันความเสื่อมถอย
พัฒนาเปลี่ยนแปลงให้ดีขึ้น
การคงสภาพที่เหลืออยู่เอาไว้
แนวคิดเก่ียวข้องกับการทํางานเป็นกลุ่ม
ความต้องการของมนุษย์
มีความสามารถพิเศษในตนเอง
การปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
ประโยชน์ของกระบวนการกลุ่ม
ช่วยเสริมสร้างทัศนคติและพฤติกรรมของสมาชิก และประสบการณ์ที่ได้รับ
ช่วยพัฒนาความสามารถพิเศษของตนเอง
คุณสมบัติของกลุ่ม
กลุ่มมีความสามารถพัฒนาความผูกพัน ความเห็นอกเห็นใจกัน มีแรงดึงดูดให้สมาชิกเข้าร่วมกัน
กลุ่มมีความสามารถควบคุมให้รางวัลและลงโทษพฤติกรรมของสมาชิกในกลุ่ม
กําหนดขอบเขตของความเป็นจริงให้กับผู้ป่วยแต่ละคนได้
ช่วยให้สมาชิกแสดงอารมณ์และระบายอารมณ์ที่รุนแรงในทางที่เหมาะสม
เปรียบเทียบและสะท้อนกลับ
ชนิดของกิจกรรมบําบัด
กลุ่มอาชีวบําบัด
นันทนาการบําบัด
กลุ่มการศึกษาบําบัด
กลุ่มวรรณกรรมบําบัด
กลุ่มบรรณานุกรมบําบัด
กลุ่มกระตุ้นผู้ฟัง
กลุ่มสอนหนังสือ
กลุ่มสอนสุขศึกษา
กล่มฝึกหัดการเข้าสังคม
กลุ่มประชุมกลุ่มบุคลากร
กลุ่มพบปะสังสรรค์
กลุ่มเตรียมตัวก่อนกลับบ้าน
ขั้นตอนในการทํากลุ่มกิจกรรมบําบัด
ขั้นที่ 1 ขั้นเตรียม :
เตรียมความรู้ เลือกกิจกรรมให้เหมาะสม เตรียมอุปกรณ์ จัดสถานที่ วางแผนดำเนินการกลุ่ม
ขั้นที่ 2 ขั้นดําเนินการ
ขั้นเปิดกลุ่ม
: แนะนําตนเองและสมาชิก บอกข้อตกลงและวัตถุประสงค์
ขั้นดําเนินกิจกรรม
: ดําเนินกิจกรรมเป็นขั้นตอนตามแผนที่วางไว้
ขั้นปิดกลุ่ม
: สรุปกิจกรรมและประโยชน์ที่ได้รับ
ขั้นที่ 3 ขั้นสรุปประเมินผล
: ประเมินปัญหา อุปสรรค
และข้อเสนอแนะ
ขนาดของกลุ่มและการกําหนดเวลา
กลุ่มขนาดเล็ก
มีจำนวนสมาชิก 8-12 คน ใช้เวลา 30 นาที ถึง 1 ชั่วโมง
กลุ่มขนาดกลาง
มีจํานวนสมาชิก 20-30 คน ใช้เวลา 1 ชั่วโมง
กลุ่มขนาดใหญ่
มีจำนวนสมาชิก 30-50 คนใช้เวลา1-2 ชั่วโมง
การจัดผู้ป่วยเข้ารับการบําบัดด้วยกิจกรรม
ระยะที่ผู้ป่วยยังมีอาการทางจิต
: กระตุ้นให้ผู้ป่วยมีปฏิกิริยาตอบสนอง สนใจ และรับรู้สิ่งแวดล้อม ต้องประเมินสภาพจิตใจ และระดับความสามารถ
ระยะที่สอง
: ผู้ป่วยจะถูกนำเข้ากลุ่มและเริ่มฝึกการทํากิจกรรมกับผู้อื่น เรียนรู้การปฏิบัติตัว และฝึกการทํากิจวัตรประจําวัน
ระยะก่อนกลับบ้าน
: มุ่งเน้นด้านสัมพันธภาพในสังคม การพัฒนาทักษะพื้นฐานในการทํางาน ทักษะการปฏิบัติในบ้านและที่ทำงาน
ระยะที่ผู้ป่วยกลับไปอยู่ชุมชน
: ติดตามดูแลผู้ป่วยว่าสามารถดํารงชีวิตอยู่ในชุมชนนั้นได้อย่างปกติสุขหรือไม่อย่างไร กระตุ้นให้ผู้ป่วยได้รู้จักใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์
ปัญหาในการทํากิจกรรมและแนวทางแก้ไข
สมาชิกไม่พูด เหม่อลอย ไม่ฟัง ไม่สนใจผู้อื่น
: ต้องพิจารณาว่าความเงียบเกิดจากอะไร และสร้างแรงจูงใจ โดยแสดงถึงความสนใจผู้ป่วย
สมาชิกโกรธ
: ระมัดระวังในการโต้ตอบกับสมาชิก สังเกตอย่าง
ใกล้ชิด ปรับบรรยากาศของกลุ่ม ให้สมาชิกได้แสดงความรู้สึก
ไม่ตัดสินพฤติกรรมของเขา
สมาชิกสร้างฉากกําบัง
หลีกเลี่ยงที่จะพูดถึงประสบการณ์: กระตุ้นให้สมาชิกคนอื่นๆ ตะล่อมเพื่อให้เขาพูดถึงความรู้สึก
สมาชิกพูดอยู่คนเดียว
: ผู้นํากลุ่มจะใช้วิธีถามสมาชิกคนอื่นๆ ให้พูดถึงสิ่งที่กําลังเกิดขึ้นในกลุ่ม
สมาชิกที่น่ารําคาญใจ
: พยายามให้สมาชิกตระหนักในพฤติกรรมของเขาและกระตุ้นให้สมาชิกคนอื่นทําหน้าที่รักษาหัวข้อเรื่อง
สมาชิกไม่สนใจเข้ากลุ่ม
: ค้นหาและแก้ไขตามสาเหตกระตุ้นและชักชวนหลายครั้ง
พฤติกรรมบําบัด
(Behavior Therapy)
องค์ประกอบ
การรักษามีรูปแบบและโครงสร้างที่แน่นอน
การรักษาจะเน้นที่ปัญหาปัจจุบัน
วิเคราะห์สาเหตุและปัจจัยที่ทําให้พฤติกรรม
ประเมินปัญหาทั้งก่อนและหลังการรักษา
ผู้ป่วยจะมีส่วนในการกําหนดโปรแกรมการรักษา
การรักษาแต่ละครั้งจะมีเป้าหมายที่ชัดเจน
จุดประสงค์ คือ การที่ผู้ป่วยพัฒนาความสามารถใน
การควบคุมพฤติกรรมปัญหา
ผู้รักษาจะช่วยสอนให้ผู้ป่วยพัฒนาทักษะใหม่ๆ
เทคนิคที่ใช้บ่อยในการรักษา
การใช้แรงเสริมพฤติกรรม
การฝึกการแสดงออกที่เหมาะสม
การขจัดความรู้สึกอย่างเป็นระบบ
การเรียนรู้จากตัวแบบ
การใช้ตัวกระตุ้นที่ไม่พึงพอใจ
การสร้างพฤติกรรมใหม่
การขจัดพฤติกรรม
บทบาทของพยาบาล
เป็นผู้บําบัดหรือผู้ช่วยเหลือผู้บําบัด
ช่วยสถานที่และจัดสภาพการณ์ที่เหมาะสม
ร่วมกับแพทย์และผู้ป่วยเลือกวิธีการรักษา
ให้กําลังใจผู้ป่วยตั้งแต่เริ่มต้นการรักษาจนกระทั่ง
สิ้นสุดการรักษา
ร่วมกับผู้ป่วยประเมินผลการรักษา
การบําบัดรักษาทางจิตใจหรือจิตบําบัด
(Psychotherapy)
จิตบําบัดรายบุคคล
จิตวิเคราะห์
จิตบําบัดแบบหยั่งเห็น
จิตบําบัดแบบประคับประคอง
Reassurance คือ การให้ความมั่นใจแก่ผู้ป่วย
Encouragement คือ การสนับสนุน ส่งเสริม ให้กำลังใจ
Guidance คือ การแนะแนวทางที่เหมาะสม
Externalization of internet คือ การหันเหความสนใจไปสู่ภายนอก
Environmental manipulation คือ การจัดการกับสิ่งแวดล้อม
Suggestion คือ การจูงใจให้ผู้ป่วยเชื่อว่าการเจ็บป่วยรักษาให้หายได้
Persuasion คือ การโน้มน้าวชักนํา
Ventilation or Catharsis คือ การระบายอารมณ์ ความรู้สึก
Desensitization คือ การลดความอ่อนไหวของผู้ป่วย
การสะกดจิต
จิตบําบัดกลุ่ม
กลุ่มการสอน
กลุ่มพบปะสังสรรค์
กลุ่มปลุกเร้าความรู้สึกเก็บกด
กลุ่มการแสดงออกอย่างเสรี
ละครจิตบําบัด
ครอบครัวบําบัด
ลักษณะครอบครัวที่
ต้องการการบําบัด
สมาชิกครอบครัวที่มีอํานาจใช้อํานาจไม่ถูกต้อง
มีปัญหาด้านการสื่อสารในครอบครัว
รูปแบบความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกไม่ปกติ
สมาชิกในครอบครัวสับสนในบทบาท
มีกระบวนการแพะรับบาป
ประเภทของครอบครัวบําบัด
ครอบครัวบําบัดแบบอิงจิตวิเคราะห์
ครอบครัวบําบัดโดยให้ความสําคัญกับเรื่องขอบเขตโครงสร้างส่วนบุคคลของครอบครัว
ครอบครัวบําบัดโดยให้ความสําคัญกับเรื่องการสื่อสารในครอบครัว
บทบาทของพยาบาล
ติดต่อญาติ นัดวัน เวลา สถานที่
จัดสถานที่ในการทํากลุ่ม ที่เงียบสงบ เป็นส่วนตัว
เยี่ยมครอบครัวเพื่อสังเกตดูสภาพแวดล้อม
อาจเป็น Leader หรือ Co-Leader
บันทึกพฤติกรรมของสมาชิกที่แสดงออกในขณะอยู่ในกลุ่ม
นางสาวสุภัสสร คงเส้ง เลขที่ 90