Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 10 ปัญหาการใช้สารเสพติด และการทารุณกรรม (ต่อ), นางสาวอัสวานา…
บทที่ 10
ปัญหาการใช้สารเสพติด และการทารุณกรรม (ต่อ)
การตรวจวินิจฉัยการทารุณร่างกายในเด็ก
สาเหตุของการทารุณกรรมเด็ก
ตัวเด็กเอง
เด็กที่มีพื้นฐานอารมณ์เป็นเด็กเลี้ยงยากมีลักษณะซนมาก
สติปัญญาตํ่า มีความพิการ หน้าตาไม่น่ารัก เป็นบุตรนอกสมรส บุตรบุญธรรม
เจ็บป่วยเรื้อรัง
ปัจจัยในครอบครัว
บิดามารดาเคยถูกกระทําทารุณมาก่อน
การใช้ความรุนแรงในครอบครัว
บิดามารดาอายุน้อย
บิดามารดาขาดทักษะในการดูแลบุตร
บิดามารดามีปัญหาทางจิตเวช
ครอบครัวหย่าร้าง
ครอบครัวอยู่อย่างโดดเดี่ยว
ความยากจน
สภาพสังคม
การติดสารเสพติด
ปัญหาและอุปสรรค์
เป็นปัญหาละเอียดอ่อน ใช้เวลานานในการประเมิน
การดูแลมีความซับซ้อน ต้องการบุคคลหลายวิชาชีพ
การทารุณกรรมร่างกาย (Physical abuse)
การบันทึก
บันทึกบาดแผล
ลักษณะ : รอยถลอก รอยช้ำ รอยฉีกขาด
ตําแหน่ง
ขนาด,ขอบเขต
สี
ประเมินอายุของบาดแผลรอยช้ำ
ควรบันทึกลงใน body diagram
7 .ควรถ่ายภาพบันทึกไว
การบันทึกประวัติ
เหตุการณ์ที่นํามาพบแพทย์
ให้อธิบายเหตุการณ์อย่างละอียด
บันทึกตามคําบอกเล่าคําต่อคํา
ประวัติครอบครัว
ประวัติพัฒนาการ,การเลี้ยงดู,อุปนิสัย,พฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลง, การเรียน
ประวัติสุขภาพ
การตั้งครรภ์ของมารดา,การฝากครรภ์
การคลอด,สภาวะหลังคลอด
สุขภาพทั่วไป
ความเจ็บป่วย โรคประจําตัว
เคยรักษาตัวในโรงพยาบาล
อุบัติเหตุ,การผ่าตัด
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
CBC, bleeding time, clotting time
ตรวจทางรังสีวิทยา bone survey, CT,MRI
ประวัติ
ประวัติที่บ่งชี้การทารุณกรรมร่างกาย
สาเหตุการบาดเจ็บไม่สมเหตุสมผล
อุบัติเหตุไม่เข้ากับระดับพัฒนาการของเด็ก
พ่อแม่เพิกเฉยไม่พาเด็กมาตรวจทันที
การบาดเจ็บเกิดขึ้นหลายๆแห่ง
อุบัติเหตุเกิดขึ้นซ้ำๆ ประวัติพี่น้องเคยมีการบาดเจ็บเช่นกัน
เลี้ยงไม่โต
พฤติกรรมผิดปกติ
ประวัติสนับสนุนการทารุณกรรมร่างกาย
ไม่มีรายละเอียด : สถานที่, เวลา, ลักษณะการเกิดอุบัติเหตุ
ประวัติที่ได้จากบุคลากรต่างๆไม่สอดคล้องกัน
บิดามารดาให้ประวัติไม่ตรงกัน
หลังเกิดอุบัติเหตุไม่รีบนํามาพบแพทย์
มีเหตุการณ์วิกฤตเกิดขึ้นก่อนเกิดอุบัติเหตุ
บิดามารดามีประวัติถูกทารุณกรรมในวัยเด็ก
ประวัติครอบครัว
อาชีพ,การศึกษา
เศรษฐกิจสังคม
บุคลิก อุปนิสัยของพ่อแม่
การติดสารเสพติด
การเจ็บป่วยทางด้านร่างกาย,จิตเวช
การใช้ความรุนแรงในครอบครัว
ความสัมพันธ์ระหว่างพ่อแม่,เด็กและเครือญาติ
ประวัติการถูกทารุณกรรมในวัยเด็กของพ่อแม่
ลักษณะของบาดแผลที่บ่งชี้การทารุณกรรม
รอยฟกช้ำ บนใบหน้าทารก
รอยฟกช้ำทีมีสีแตกต่างกัน
รอยฟกช้ำบริเวณหลังลําตัว ในร่มผ้า
การบาดเจ็บที่ศีรษะอย่างรุนแรงในทารก,เลือดออกใต้ชั้นดูรา,เลือดออกในจอตา
การหัก ของกระดูกซี่โครง
กระดูกหัก ในทารกวัยหัดเดิน
กระดูกหักหลายตําแหน่งและมีอายุในการเกิดแตกต่างกัน
บาดแผลทีมีรูปร่างเฉพาะ
ข้อบ่งชี้ทางพฤติกรรม (Behavior indicators)
มีอาการเฝ้าระวังตลอดเวลา, ตกใจง่าย
กลัวพ่อแม่ และผู้ใหญ่
กลัวการสมรสทางกาย
ก้าวร้าว รังแกผู้อื่น
เพิกเฉยไม่สนใจสิ่งต่างๆ
ไม่สามารถสร้างสัมพันธ์กับผู้อื่น
พัฒนาการถดถอย ล่าช้า
เด็กบอกผู้อื่นว่าถูกทําร้าย
การตรวจร่างกาย
ประเมินภาวะโภชนการ
ตรวจระดับร่างกายทั่วไปอย่างละเอียด,ทุกระบบ
มองหาบาดแผลจากการถูกทําทารุณ
บันทึกผลที่ได้อย่างละเอียด
การตรวจอวัยวะเพศ และทวารหนัก
การบริหารจัดการเด็กที่ถูกทารุณกรรมร่างกาย
การบำบัดปัญหาทางอารมณ์และปรับพฤติกรรมของผู้เลี้ยงดู
สอนการฝึกระเบียบวินัยโดยไม่ใช้ความรุนแรง
แก้ไขปัญหาที่เป็นความเปราะบางของเด็ก
การบำบัดทางจิตใจในกรณีรุนแรง - การประเมินความเสี่ยงและติดตามดูแล
การแยกเด็กในกรณีรุนแรง และไม่สามารถแก้ปัญหาได้
สร้างความเข้มแข็งให้ครอบครัว
ประเมินเด็กและความต้องการของเด็ก
ประเมินผู้เลี้ยงดู และความต้องการของผู้เลี้ยงดู
ประเมินสภาวะแวดล้อม
ป้องกันเด็กถูกกระทำ
ให้เด็กยังคงอยู่กับครอบครัวถ้าเป็นไปได้
ให้มีสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัยแก่เด็ก
จัดหาระบบและทรัพยากรเข้าไปช่วยเหลือ
สร้างความเข้มแข็งให้ครอบครัว
การทารุณกรรมทางอารมณ์ (Emotional abuse)
รูปแบบของการทารุณกรรมทางอารมณ์
การปฏิเสธ (Rejection) ปฏิเสธความต้องการของเด็ก ไม่เห็นคุณค่าในตัวเด็ก
แยกเด็ก (Isolation) จากสังคมไม่ให้มีเพื่อน
ทำให้หวาดกลัว (Terrorizing) ด้วยคำพูดสร้างบรรยากาศให้เกิดความหวาดกลัว
เมินเฉย (Ignoring) ไม่ตอบสนองต่อความต้องการต่างๆ
เอาเปรียบเด็ก (Corrupting) ใช้เด็กให้กระทำในสิ่งที่ไม่เหมาะสม
การละเลยทอดทิ้งเด็ก (Neglect)
ชนิดของการละเลยทอดทิ้งเด็ก
การปฏิเสธ (Rejection) ปฏิเสธความต้องการของเด็ก ไม่เห็นคุณค่าในตัวเด็ก
แยกเด็ก (Isolation) จากสังคมไม่ให้มีเพื่อน
ทำให้หวาดกลัว (Terrorizing) ด้วยคำพูดสร้างบรรยากาศให้เกิดความหวาดกลัว
เมินเฉย (Ignoring) ไม่ตอบสนองต่อความต้องการต่างๆ
เอาเปรียบเด็ก (Corrupting) ใช้เด็กให้กระทำในสิ่งที่ไม่เหมาะสม
การป้องกัน
การป้องกันแบบปฐมภูมิ สร้างความตระหนักรณรงค์ โครงการฝึกอบรม
การป้องกันแบบทุติยภูมิ การเข้าแทรกแซง / ให้ความช่วยเหลือ / สงเคราะห์ประชากรกลุ่มเสี่ยง
การบำบัด และฟื้นฟูเด็ก และสตรีผู้ถูกกระทำรุนแรงโดยทีมสหวิชาชีพ
ระดับประเทศรัฐต้องเห็นความสำคัญของปัญหา
การทารุณกรรมทางเพศ (Sexual Abuse)
การตรวจสภาพจิต
เพื่อทราบว่าเด็กถูกทารุณทางเพศจริงหรือไม่
ดูผลกระทบจากการทารุณทางเพศต่อเด็ก
ประเมินความเสี่ยงของการทารุณทางเพศซ้พ
ข้อบ่งชี้
พฤติกรรมของผู้ปกครอง
อาจมีประวัติเคยถูกทารุณกรรมทางเพศในวัยเด็กมาก่อน
แยกตัวจากสังคม
เอาแต่ใจตัวเอง, ควบคุมตัวเองไม่ได้
มักติดสุราหรือยาเสพติด
ความสมพันธ์ระหว่างสามีภรรยาไม่ราบรื่น
เชื่อว่าเด็กมีความสนุกและมีความสุขกับการสัมผัสทางเพศ
มักแสดงความหึงหวง และปฏิเสธหรือกีดกันไม่ให้เด็กติดต่อ และใกล้ชิดกับผู้อื่น
ทางพฤติกรรม
เด็กบอกผู้ยื่นว่าถูกทำร้ายทางเพศ
มีความรู้เรื่องเพศมากเกินวัย
มีลักษณะยั่วยวนทางเพศ, สำเร็จความใคร่
หนีจากบ้านหรือคิดฆ่าตัวตาย
หวาดกลัวและถอยหนีจากผู้ชาย
พฤติกรรมก้าวร้าว, ถดถอย
การเรียนแลวลง, ไม่มีสมาธิ
อาจแสดงออกด้วยอาการทางกาย เช่น ปวดศีรษะ ปวดท้อง
ทางร่างกาย
ตั้งครรภ์หรือติดเชื้อที่ติดต่อโดยการร่วมเพศ (Sexual transmitted diseases)
อวัยวะเพศทวารหนักมีบาดแผล หรือฉีกขาด
เลือดออกทางช่องคลอด
เจ็บหรือคันบริเวณช่องคลอด
ติดเชื้อบริเวณช่องคลอด
ปัญหาทางการแพทย์
การซักประวัติ
ประวัติจากผู้ดูแลอาจไม่ใช่ความจริง
เด็กอาจไม่กล้าบอกหรือไม่สามารถสื่อสารให้เข้าใจได้
ต้องเข้าใจพัฒนาการและอารมณ์ของเด็ก
การตรวจร่างกาย
ต้องอาศัยผู้มีความชำนาญโดยเฉพาะ
การตรวจกรณีล่วงละเมิดทางเพศ การทารุณกรรมอาจเกิดขึ้นโดยไม่มีร่องรอยบาดแผล
บาดแผลอาจหายได้ภายในเวลาไม่นาน
อาจพบเพียงความผิดปกติของพัฒนาการหรือพฤติกรรม
อาการแสดงของเด็กที่เกิดจากการทารุณกรรมทางเพศ
เด็กวัยเรียน
อาการทางกาย : โรคติดเชื้อเพศสัมพันธ์, ปวดหัว ปวดท้อง
อาการทางใจ : ไม่มีสมาธิในการเรียน, แยกตัว ก้าวร้าว
เด็กเล็ก
อาการทางร่างกาย : โรคติดเซอเพศ์สัมพันธ์, ติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ, ติดเชื้อในช่องคลอด, พฤติกรรมถดถอย, สำเร็จความใคร่
เด็กโต
อาการทางกาย : ตั้งครรภ์, ติดเชื้อเพศสัมพันธ์, ซึมเศร้า, ฆ่าตัวตาย
หนีจากบ้าน
ใช้สารเสพติด
สำส่อนทางเพศ
การทารุณกรรมทางเพศ
การเตรียมเด็กเพื่อตรวจอวัยวะเพศ
หาข้อมูลเกี่ยวกับเหตุการณ์จากผู้นำเด็กมาโดยไม่สัมภาษณ์ต่อหน้าเด็ก
อธิบายให้เด็กทราบว่าจะทําอะไรและอย่างไร
ในเด็กเล็กให้ผู้ที่เด็กไว้วางใจอยู่ด้วย
ในวัยรุ่นให้ถามเด็กก่อน
การตรวจร่างกาย
การตรวจหาความผิดปกติและให้การรักษา
การบาดเจ็บบริเวณอวัยวะเพศ
การติดเชื้อเพศสัมพันธ์
การรวบรวมหลักฐานทางนิติเวชควรทำภายใน 72 ชั่วโมงหลังเกิดเหตุการณ์
ตรวจหาอสุจิ, น้ำอสุจิ, ขนเพชรตามที่ต่างๆในช่องคลอด, ทวารหนัก, ตามร่างกาย, เสื้อผ้า
สิ่งส่งตรวจจากช่องคลอด, ทวารหนัก, ช่องปากเพื่อตรวจหาเชื้อที่ติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ตรวจเลือดหาซิฟิลิส โรคเอดส์ ตับอักเสบ
ตรวจการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
การรักษาและช่วยเหลือ
การรักษาทางกาย
รักษาบาดแผล
ป้องกัน และรักษาโรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์
ป้องกัน / พิจารณาสิ้นสุดการตั้งครรภ์
การรักษาทางจิตใจ
ป้องกันการถูกทารุณซ้ำ
รักษาอาการทางจิตใจ เช่น ซึมเศร้า วิตกกังวล เพิ่มความภูมิใจในตนเองให้เกิดความรู้สึกไว้วางใจบุคคลอื่น
สามารถปรับตัวต่อสถานการณ์เสี่ยงในอนาคตได้
ให้ควบคุมอารมณ์ตนเองได้
ช่วยเหลือเรื่องการเรียน
ผลกระทบ
ระยะสั้น
ปัญหาสุขภาพ
ปัญหาทางอารมณ์
ปัญหาทางพฤติกรรม
ปัญหาการเรียน
ระยะยาว
ซึมเศร้าแยกตัว
ติดสารเสพติด
ปัญหาชีวิตสมรส
ปัญหาทางเพศ
ปัญหาโสเภณี
การป้องกัน
การป้องกันการติดเชื้อ HIV ในเด็กที่ถูกล่วงละเมิดทางเพศนั้นยังไม่มีข้อสรุป เพราะยังไม่มีข้อมูลมากพอ
ในหญิงสาวอัตราการเสี่ยงของการติดเชื้อ HIV จากการมีเพศสัมพันธ์ 1 ครั้งพบร้อยละ 0.1-0.2
การให้ยาป้องกันการตั้งครรภ์
Ovral: (di LNG 0.5 mg, EE 50 แ g) 2 tablets followed by 2 tablets 12 hours later
Postinor: (LNG 0.75 mg) 1 tablets followed byi tablets 12 hours later
นางสาวอัสวานา โต๊ะหลงหมาด เลขที่ 99