Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
นโยบายกฎหมาย แผนผู้สูงอายุแห่งชาติและ จริยธรรมในการดูแลผู้สูงอายุ -…
นโยบายกฎหมาย แผนผู้สูงอายุแห่งชาติและ
จริยธรรมในการดูแลผู้สูงอายุ
เส้นทางนโยบาย กฎหมาย ที่เกี่ยวข้องกับผู้สูงอายุไทย
ภาพลักษณ์ผู้สูงอายุไทย ที่พึงปรารถนาในทศวรรษหน้า
พึ่งตนเองได้ มีประโยชน์
มีหลักประกันมั่นคง
อยู่ในครอบครัวอย่างมีความสุข
มีความรู้และมีโอกาสได้เรียนรู้ตลอดชีวิต
มีสุขภาพกายและจิตที่ดี
มาตรการด้านสุขภาพ
ต้องเน้นบริการที่เข้าถึงตัวผู้สูงอายุในเชิงรุก การบริการระดับชุมชน
และการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน
กฎหมาย นโยบายที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับผู้สูงอายุไทย
ปฏิญญาผู้สูงอายุไทย
ข้อที่ 5 ผู้สูงอายุควรได้เรียนรู้ในการดูแลสุขภาพอนามัยของตนเอง
ข้อที่ 6 ผู้สูงอายุส่วนใหญ่พึ่งพาตนเองได้
ข้อที่ 4 ผู้สูงอายุควรได้ถ่ายทอดความรู้ประสบการณ์ให้สังคม
ข้อที่ 7 รัฐโดยการมีส่วนร่วมขององค์กรภาคเอกชน ประชาชน
ข้อที่ 3 ผู้สูงอายุควรได้รับโอกาสในการศึกษาเรียนรู้
ข้อที่ 8 เพื่อเป็นหลักประกันและการบังคับใช้ในการพิทักษ์สิทธิ
ข้อที่2 ผู้สูงอายุควรอยู่กับครอบครัวโดยได้รับความเคารพรัก ความเข้าใจ
ข้อที่ 9 ค่านิยม
ให้สังคมตระหนักถึงคุณค่าของผู้สูงอายุตามวัฒนธรรมไทย
ข้อที่ 1 ผู้สูงอายุต้องได้รับป๎จจัยพื้นฐานในการด ารงชีวิตอย่างมีคุณค่าและศักดิ์ศรี
พระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546
เพื่อให้การดำเนินงานเกี่ยวกับการคุ้มครองการส่งเสริม และการสนับสนุนต่อสิทธิและประโยชน์ของผู้สูงอายุเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
แผนผู้สูงอายุแห่งชาติฉบับที่ 1
เพื่อให้การดำเนินงานเกี่ยวกับการคุ้มครองการส่งเสริม และการสนับสนุนต่อสิทธิและประโยชน์ของผู้สูงอายุเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
แผนผู้สูงอายุแห่งชาติ ฉบับที่ 2
เพื่อสร้างจิตส านึกให้คนในสังคมตระหนักถึงผู้สูงอายุในฐานะบุคคลที่มี
ประโยชน์ต่อสังคม
แผนผู้สูงอายุแห่งชาติ ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2545 - 2564 ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1
เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดีด้วยการดำรงชีวิตอย่างมีคุณค่า มีศักดิ์ศรีพึ่งตนเองได้และมีหลักประกันที่มั่นคง
สิทธิของผู้สูงอายุตามหลักการขององค์การสหประชาชาติ
การมีอิสระภาพในการพึ่งตนเอง
การมีส่วนร่วม
การอุปการะเลี้ยงดู
การบรรลุความต้องการ
ความมีศักดิ์ศร
ปัญหาจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลผู้สูงอายุ
ประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับผู้สูงอายุ
พินัยกรรม
พินัยกรรมแบบเอกสารฝ่ายเมือง
พินัยกรรมแบบเอกสารลับ
พินัยกรรมแบบธรรมดา
พินัยกรรมแบบวาจา
พินัยกรรมแบบเขียนเองทั้งฉบับ
การพยาบาลผู้ป่วยระยะสุดท้าย
พยาบาลมีบทบาทส าคัญในการประเมินความพร้อมในการ รับรู้ความพร้อมที่จะตาย ผู้สูงอายุอาจพร้อมหรือไม่พร้อมที่จะเข้าสู่ระยะสุดท้ายของชีวิต
เมตตามรณะ (Euthanasia)
การให้ผู้ปุวยที่สิ้นหวังที่ทนทุกข์ทรมานจากโรคที่
รักษาไม่หายได้ตายลงโดยไม่เจ็บปวด
การทำทารุณกรรมในผู้สูงอายุ (Elderly Abuse)
กลุ่มการกระทำและการละเลยที่ก่อให้เกิดความทุกข์ทรมานที่ไม่จำเป็นต่อผู้สูงอาย
การทอดทิ้ง
บุตรหลานหรือญาติพี่น้องละเลย ไม่เอาใจใส่ หรือไม่ดูแลผู้สูงอายุเป็นระยะเวลานาน อันอาจจะเกิดอันตรายต่อร่างกาย หรือจิตใจของผู้สูงอาย
การละทิ้ง (Abandonment)
การละทิ้งหน้าที่ต่อผู้สูงอายุที่ตนเองรับผิดชอบในการให้การดูแลหรือผู้สูงอายุที่อยู่ในความดูแล
การแสวงหาผลประโยชน์ทางด้านการเงิน
ขู่เข็ญหรือหลอกลวงผู้สูงอายุให้เซ็นชื่อในเอกสาร เช่น การทำสัญญาหรือการทำพินัยกรรม
การประเมินภาวะทารุณกรรม
การบริการและการให้การช่วยเหลือในประเทศไทย
ศูนย์ประชาบดีและศูนย์ช่วยเหลือสังคม
สายด่วนกรมสุขภาพจิต
ศูนย์พัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมผู้สูงอายุและสถานสงเคราะห์คนชรา
สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด
) กรรมกิจการผู้สูงอาย
ศูนย์เฝูาระวังและเตือนภัยทางสังคม สังกัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
การป้องกันการทารุณกรรม
มุ่งเป้าหมายไปที่ประชาชนทั่วไป โดยประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เรื่องการทารุณกรรม สร้างความตระหนักสังคม
กฎหมาย นโยบายอื่นๆ ของประเทศไทย
นโยบาย กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการสร้างหลักประกันด้านสุขภาพและหลักประกันด้านรายได้
พระราชบัญญัติกองทุนบำเหน็จ บำนาญข้าราชการ
เพื่อเป็นหลักประกันการจ่ายบำเหน็จ บำนาญและให้ประโยชน์ตอบแทนการรับราชการแก่ข้าราชการเมื่อลาออกจากราชการ
พระราชบัญญัติการออมแห่งชาติ
ส่งเสริมการออมทรัพย์ของสมาชิกและเพื่อเป็นหลักประกันการจ่าย
บำนาญและให้ประโยชน์ตอบแทนแก่สมาชิกเมื่อสิ้นสมาชิกภาพ
พระราชบัญญัติประกันสังคม
มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างหลักประกันและความมั่นคงในการด ารงชีวิตให้แก่ลูกจ้างที่จ่ายเงินสมทบเข้ากองทุน ในที่นี้เรียกว่า "ผู้ประกันตน"
ความคุ้มครองภายใต้กองทุนประกันสังคมแบ่งเป็น 7 ประเภท คือ เจ็บปุวยหรือประสบอันตราย คลอดบุตร ทุพพลภาพ เสียชีวิต สงเคราะห์บุตรชราภาพ ว่างงาน
กองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ
เป็นเครื่องมือหนึ่งในการสะสมเงินไว้ใช้ในวัยเกษียณโดยมีการสนับสนุนให้สิทธิประโยชน์ทางภาษีแก่ผู้ลงทุนเพื่อเป็นแรงจูงใจ เหมาะกับคนทุกกลุ่มที่ต้องการออมเงินเพื่อวัยเกษียณ
พระราชบัญญัติกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
กองทุนที่นายจ้างและลูกจ้างร่วมกันจัดตั้งขึ้น เงินของกองทุนมาจาก
เงินที่ลูกจ้างจ่ายส่วนหนึ่งเรียกว่า "เงินสะสม" และนายจ้างจ่ายส่วนหนึ่งเรียกว่า "เงินสมทบ"
กองทุนรวมหุ้นระยะยาว
กองทุนรวมเพื่อการลงทุนในตราสารแห่งทุน ในระยะยาวที่มีอายุ
ไม่ต่ำกว่า 10 ปี เพื่อให้สิทธิประโยชน์ทางภาษีแก่ผู้ลงทุน
พระราชบัญญัติข้าราชการพลเรือน
ข้าราชการ ผู้เข้ารับราชการจะมีิทธิประโยชน์ ได้แก่ ค่ารักษาพยาบาล การศึกษาบุตร ค่าเช่าบ้าน บำเหน็จ บำนาญ