Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวชที่มีปัญหาการใช้สารเสพติด,…
การพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวชที่มีปัญหาการใช้สารเสพติด
สารเสพติด (substance)
สิ่งที่เสพเข้าไปในร่างกายแล้วทําให้ร่างกายต้องการสารนั้นในปริมาณที่เพิ่มขึ้นไม่สามารถหยุดได้ มีผลทำให้ร่างกายทรุดโทรมและสภาวะจิตผิดปกติ
ประเภทของสารเสพติดตามการออกฤทธิ์
สารกดประสาท ได้แก่ แอลกอฮอล์ ฝิ่น มอร์ฟีน
เฮโรอ๊น
สารกระตุ้นประสาท ได้แก่ แอมเฟตามีน ยาเลิฟ ยาอี ยาไอซ์
สารหลอนประสาท ได้แก่ ยาอี ยาเลิฟ ยาเค กัญชา สารระเหย เห็ดขี้ควาย LSD PCP
สารออกฤทธิ์ผสาน เช่น กัญชา
ประเภทของสารเสพติดตามที่มาของสาร
ประเภทที่ได้จากธรรมชาติ เช่น ฝิ่ น มอร์ฟีน กระท่อม กัญชา
ประเภทที่ได้จากการสังเคราะห์ เช่น เฮโรอีน แอมเฟตามีน
ประเภทของสารเสพติดตามการบังคับใช้กฎหมาย
ประเภทถูกกฎหมาย (legal drug) เช่น กาแฟ บุหรี่ สุรา
ประเภทผิดกฎหมาย (illegal drug) เช่น มอร์ฟี น ฝิ่น
ปัจจัยที่สัมพันธ์กับการใช้สารเสพติด
ปัจจัยด้านชีวภาพ
Genetic factors
Brain transmitters: Neurotransmitter Receptor
ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม
พฤติกรรมการเลียนแบบ
ความยากง่ายในการเข้าถึงสารเสพติด
ปัจจัยด้านlearning และ conditioning
ผลบวกจากการใช้ยา
การถูกกระตุ้นด้วยปัจจัยที่เป็นเงื่อนไขของการเสพ
การพยาบาล
การประเมิน (Assessment)
ประวัติการเจ็บป่วยปัจจุบัน
พัฒนาการตามวัย
ทางด้านร่างกาย
ด้านจิตสังคม
ประวัติการคลอดและการได้รับภูมิคุ้มกัน
ประวัติการเลี้ยงดู
ประวัติการใช้สารเสติด
อาการสำคัญ
การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
ขั้นตอนการให้การปรึกษา
ขั้นตอนที่ 1 การสร้างสัมพันธภาพ
ขั้นตอนที่ 2 การท าความเข้าใจและหาสาเหตุของปัญหา
ขั้นตอนที่ 3 การหาวิธีแก้ไขปัญหา
ขั้นตอนที่ 4 การสรุปสิ่งที่พูดคุ
ขั้นตอนของการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม Stage of Change
ขั้นเมินเฉยปัญหา (Pre-contemplation)
ขั้นลังเลใจ (Contemplation)
ขั้นตัดสินใจหรือเตรียมการ (Determination or preparation)
ขั้นลงมือแก้ไข (Action)
ขั้นกระท าต่อเนื่อง (Maintenance)
ขั้นกลับไปติดซ้ า (Relapse)
การบำบัดด้วยการแก้ปัญหา
(Problem Solving Therapy)
แบที่ 1 การแก้ไขปัญหาแบบมีเหตุผล (Rational problem solving)
แบบที่ 2 เป็นการแก้ปัญหาโดยการหลีกหนี (Avoidence)
แบบที่่ 3 การแก้ปัญหาแบบหุนหันพลันแล่นและขาดความระมัดระวัง (Impulsive/careless)
Alcohol
ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิด Alcohol intoxication ได้แก่ น้ำหนักตัว ความทนต่อแอลกอฮอล์ ความเข้มข้นของแอลกอฮอล์
ในเครื่องดื่มแอลกอฮอล์แต่ละชนิด และระยะเวลาในการดื่มแอลกอฮอล์
การพยาบาลผู้ป่วที่มีภาวะ Alcohol intoxication
ประเมินสัญญาชีพและอาการและอาการแสดงของภาวะ alcohol intoxication
จัดให้อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่สงบ
เฝ้าระวังอุบัติเหตุ และการทำร้ายตนเองและผู้อื่น
ประเมินปัญหาการติดสุรา โดยการใช้เครื่องมือ AUDIT
ประเภทของสารเสพติดตาม พรบ.ยาเสพติดให้โทษ พ.ศ.2522
ประเภท 1 ให้โทษชนิดร้ายแรงเช่น เฮโรอีน แอมเฟตามีน เมทแอมเฟตามีน
ประเภท 2 ให้โทษประเภททั่วไป เช่น มอร์ฟีน โคคาอีน โคเดอีน ฝิ่นยา
ประเภท 3 ให้โทษที่มีลักษณะเป็นตำรับยา และมียาเสพติดให้โทษประเภท 2
เป็นส่วนผสม
ประเภท 4 สารเคมีที่ใช้ในการผลิตสารเสพติดให้โทษประเภท 1 หรือประเภท 2
ประเภท 5 ยาเสพติดให้โทษที่ไม่ได้อยู่ในประเภทที่1-4
นางสาวสุกัญญา เส้งสุก 62122301084 เลขที่ 84