Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พยาธิสรีรวิทยาของระบบทางเดินหายใจ - Coggle Diagram
พยาธิสรีรวิทยาของระบบทางเดินหายใจ
สรีรวิทยา
โครงสร้างและหน้าที่
หน้าที่
แลกเปลี่ยนก็าซ นำ O2 เข้า CO2 ออก
สร้างและขจัดสารเคมีบางชนิดการกรองสิ่งแปลงปลอม
Blood-Gas Interface
พื้นที่ผิวของ aleolar wall ทั้งหมด 85 ตารางเมตร
500,000,000 alveoli
Airways and Airflow
Blood Vessels and flow
การขนส่งออกซิเจน
• Oxygen ละลายในนี้ไม่ได้ดี แต่มีความสามารถจับกับฮีโมโกลบินได้ดี
Oxygen ที่ผ่านถุงลมเข้ามาในเลือด
ละลายใน plasma วัดได้จากการเจาะ ABG
•2.จับกับฮีโมโกลบินในเม็ดเลือดแดง วัดได้จากการจับ pulse O2 saturation
O2 ในเลืดอยู่ที่ไหนบ้าง
อาการวิทยาระบบการหายใจ
•หมายถึงความรู้สึกหายใจได้ลำบาก ต้องใช้ความพยายามในการหายใจ อาการหายใจลำบากอาจจะพบในผู้ป่วยหรือบุคคลปกติก็ได้
•จะถือว่ามีความสำคัญทางคลินิกเมื่อเกิดขึ้นในขณะพักหรือระหว่างการทำกิจกรรมที่ไม่ต้องออกแรงมากนักหรือเคยทำได้
อาการหายใจลําบาก
สาเหตุ
กลไก
สาเหตุที่พบบ่อย
อาการไอ
เป็นกลไกการตอบสนองของร่างกายต่อสิ่งผิดปกติในทางเดินหายใจ เป็นกลไกป้องกันที่สำคัญของร่างกายในการกำจัดเชื้อโรค
ประเภทของอาการไอ
•ไอแบบมีเสมหะ
มักพบในโรคของหลอดลม และการติดเชื้อแบคทีเรีย
•ไอแห้ง มักพบในโรคหืด ภูมิแพ้ วัณโรคปอด ผลข้างเคียงจากการทานยากลุ่ม ACE inhibitor
•ไอเป็นเลือด โรคมะเร็งของหลอดลม การติดเชื้อโดยเฉพาะวัณโรค
อาการเขียวคลํ้า (Cyanosis)
•เขียวคลํ้าตามปลายมือ ปลายเท้า เยื่อบุผิว ซึ่งสังเกตจากเยื่อบุใต้หนังตา ลิ้น กระพุงแก้ม ริมฝีปากด้านใน
•สาเหตุเกิดจากโรคของหัวใจและปอดที่ทำให้ออกซิเจนจับกับฮีโมโกลลดลง
•แบ่งเป็น central cyanosis และ peripheral cyanosis
•Central cyanosis เกิดขึ้นเมื่อมี arterial desaturation
•peripheral cyanosis เกิดขึ้นเมื่อมีการใช้ออกซิเจนในร่างกายส่วนปลายมากกว่าปกติ
อาการนิ้วปุ้ม (Clubbing)
•เป็นผลจากการพร่องออกซิเจนเรื้อรัง :red_flag:
•ทำให้เกิดการเจริญเติบโตผิดปกติของเนื้อเยื่อเล็บ เกิดหลอดเลือดฝอยและเนื้อเยื่อขยายตัวเพิ่มจำนวน
อาการเจ็บหน้าอก
ลักษณะอาการ
ระบบการหายใจล้มเหลวเฉียบพลัน
•ภาวะที่ปอดไม่สามารถนำออกซิเจนสู่เลือด และไมสามารถระบายCO2 ในเลือดออกจากร่างกายผ่านการหายใจได้
ชนิด
•Acute Hypoxemic respiratory failure
•PaO2 จาก ABG < 60 mmHg รวมกับมี PaCO2 ปกติหรือตํ่า
•Acute hypercapnia respiratory failure
•PaCO2 > 50 mmHg
•Perioperative respiratory failure
•Acute Circulatory failure
•ในผู้ป่วยเสียเลือด,มีภาวะ shock
Single lung unit model
Normal gas exchange
ภาวะพร่องออกซิเจน(Hypoxia)
•Hypoxia : decrease Oxygen supply to tissue
•Hypoxemia : Decrease oxygen in blood
•สาเหตุ
•Diffusion limitation : การแพร่ผ่านผนังถุงลมเสียไป
•Hypoventilation : การหายใจช้าหรอตันทำให้การระบายอากาศลด ส่งผลให้ PaCO2 สูง
•Decrease PIO2 : เช่น การอยู่บนที่สูง
•V/Q mismatch : มีการระบายอากาศหรือการไหลเวียนเลือดลดลง
•Shunt : มีพยาธิสภาพที่ส่งผลให้ไม่เกิดการแลกเปลี่ยนก๊าซ
อาการแสดง
•กระตุ้นระบบประสาทซิมพาเททิกทำให้ความดันเปลี่ยนแปลง หัวใจเต้นเร็วขึ้น
•กระตุ้นศูนยหายใจให้หายใจเร็วและแรงมากขึ้น
•Hemoglobin desaturation : cyanosis
•ปวดศีรษะ การตัดสินใจไม่ถูกต้อง กระสับกระส่าย ซึม สับสน
•ผลที่ตามมาของการเกิดภาวะพร่องออกซิเจนทไม่ได้รับการแก้ไข คือเซลล์ได้รับอันตราย และ
อวัยวะต่างๆเกิดการล้มเหลว เช่น ความดันโลหิตตํ่า ไตวาย สมองเสียหายถาวร
ภาวะคาร์บอนไดออกไซด์คั่ง(Hypercapnia)
•เป็นภาวะที่คาร์บอนไดออกไซด์ในปอดและในเลือดสูงกว่าปกติ
PaCO2 > 45mmHg
•สาเหตุ
•Hypoventilation(หายใจช้าไป หรือหายใจตื้นไป)
•มีความผิดปกติที่ deadspace เพิ่มขึ้น เช่นโรคถุงลมโป่งพองที่รุนแรง(Severe emphysema
•มีการสร้าง CO2 มากกว่าปกติ เช่น มีภาวะ sepsis
Normal VQ, Shunt & dead space
Pulmonary edema
•ภาวะที่ความดันใน pulmonary capillary เพิ่มขึ้นนำไปสู่การรั่ว
ของของเหลวไปสู่ชั้น interstitium และอาจผ่านไปสู่ ถุงลมได้
Atelectasis
•ภาวะที่ถุงลมปอดไม่สามารถขยายได้ปกติ ส่งผลให้ถุงลมปอด
ส่วนที่มีการแฟบ ไม่สามาถแลกเปี่ลยนก๊าซได้อย่างปกติ
Ventilator supply and demand
•Ventilatory supply คือ ความสามารถสูงสุดขอร่างกายในการหายใจโดยไม่เกิดการอ่อนล้าของกล้ามเนื้อหายใจ
•Ventilatory demand คือการปริมาณการหายใจที่ทำให้เกิดการระบายเอากาศที่เพียงพอ ไม่เกิดภาวะ PaCO2 ในเลือดสูงกว่าปกติ
•ปกติ Supply จะมากกว่า demand
COVID-19
COVID-19
•ระยะฟักตัว เฉลี่ย 4-5 วัน(2-14วัน)
•การติดต่อ
•Air borne(เฉพาะเมื่อเกิด aerosal เช่นพ่นยา
•Direct contact
•Droplets
•อาการ
•ส่วนใหญ่ไม่มีอาการ
•ในผู้มีอาการ อาจมีอาการของการติดเชื้อไวรัส หรือปอดอักเสบ
โคโรนาไวรัส
•RNA virus สามารถก่อโรคทางเดินหายใจและทางเดินอาหาร(ส่วนใหญ่อาการน้อย) มีเพียงบางสายพันธ์ที่มีความรุนแรง
ติดต่อได้ง่ายแค่ไหน?
การรักษา
•ส่วนใหญ่หายได้เอง
•ยาที่ใช้ในการรักษา ใช้กรณีอาการรุนแรงส่วนใหญ่ยังอยู่ในการทดลอง
•ในผู้ป่วยที่อาการรุนแรงหรือวิกฤต เน้นการประคับประคองจนกระทั่งพ้นอาการวิกฤต