Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 การออกแบบการวิจัย :red_flag:, 1857a713b7c6468, unnamed - Coggle…
บทที่ 6 การออกแบบการวิจัย :red_flag:
ขั้นตอนการออกแบบการวิจัย
กำหนดขอบเขตการวิจัย
กำหนดแนวทางการวิจัย
การออกแบบการวัดตัวแปร
การออกแบบการสุ่มตัวอย่าง
การออกแบบการวิเคราะห์ข้อมูล
กำหนดรูปแบบการวิจัย
รูปแบบวิจัยเชิงทดลอง
รูปแบบวิจัยที่ไม่ใช่การทดลอง
หลักการออกแบบการวิจัย
ได้ความเที่ยงตรงภายในและภายนอก
ความเที่ยงตรงภายใน
ความแตกต่างความแปรผันเกิดขึ้นกับตัวแปรตามจากตัวแปรอิสระเท่านั้น
ต้องออกแบบการวัดและวิเคราะห์ข้อมูล อย่างถูกต้อง
ผลวิจัยมาจากตัวแปรอิสระเท่านั้น
ความเที่ยงตรงภายนอก
นำผลวิจัยไปสรุปใช้กับสถานการณ์ได้
คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างที่ดี
ผลวิเคราะห์สามารถใช้สรุปอ้างอิงได้
ใช้สถิติสรุปไปยังพารามิเตอร์อย่างถูกต้อง
สรุปการวิจัยครอบคลุมในกลุ่มประชากรที่ใหญ่กว่าได้
ออกแบบการวิเคราะห์ข้อมูลถูกต้องประกอบด้วยความเที่ยงตรงภายใน
ใช้หลักการ “max min con”
การควบคุมความแปรปรวนจากตัวแปรแทรกซ้อนและตัวแปรเกิน
ลดความคลาดเคลื่อนของแบบสุ่มที่เกิดจากการวัดตัวแปรให้มีค่าต่ำสุด
จัดให้ความแปรปรวนของตัวแปรที่ศึกษามีค่ามากที่สุด
ประโยชน์การออกแบบการวิจัย
เลือกใช้วิธีการทางสถิติที่เหมาะสมในการวิเคราะห์ข้อมูล
ประเมินวางแผนเกี่ยวกับทรัพยากรที่ใช้ในการวิจับ เช่น งบ
กำหนดกลุ่มตัวอย่างเพื่อใช้ในการวิจ้ย
ประมาณ ทีมงาน วัสดุอุปกรณ์
กำหนดและสร้างเครื่องมือในการวิจัย
ประเมินผลวิจัยได้ถูกต้องน่าเชื่อถือ
วางแผนดำเนินการวิจัยและควบคุมตัวแปรได
การออกแบบการวิจัยที่ดี
ปราศจากความสับสน
สามารถควบคุมตัวแปรภายนอกได้ทั้งหมด
ปราศจากความลำเอียง
ใช้สถิติที่ถูกต้องในการตั้งสมมุติฐาน
จุดมุ่งหมายการออกแบบการวิจัย
ลดความคลาดเคลื่อนของแบบสุ่มที่เกิดจากการวัดตัวแปลให้มีค่าต่ำสุด
การควบคุมความแปรปรวนจากตัวแปรแทรกซ้อนและ
ตัวแปรเกิน
จัดให้ความแปรปรวนของตัวแปรที่ศึกษามีค่ามากที่สุด
องค์ประกอบการออกแบบการวิจัย
การออกแบบการสุ่มตัวอย่าง
การกำหนมรูปแบบการสุ่ม
กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง
การออกแบบการวิเคราะห์ข้อมูล
การเลือกใช้สถิติเชิงบรรยาย
ใช้สถิติเชิงสรุปอ้างอิง
การออกแบบการวัดตัวแปร