Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 การเปลี่ยนแปลงปริมาณน้ำและการไหลเวียนเลือด (Hemodynamic…
บทที่ 6
การเปลี่ยนแปลงปริมาณน้ำและการไหลเวียนเลือด
(Hemodynamic disorder)
ภาวะเสียสมดุลของสารน้ำในร่างกาย
(Fluid imbalance)
สมดุลน้ำในภาวะปกติ
2.Interstitial hydrostatic pressure :
แรงดันของสารน้ำระหว่างเซลล์ที่อยู่รอบหลอดเลือดฝอย --> ดันน้ำเข้าสู่หลอดเลือด
3.Capillary osmotic pressure
ดึงน้ำกลับเข้าหลอดเลือด แรงดันนี้ขึ้นอยู่กับปริมาณโปรตีนโดยเฉพาะอย่างอัลบูมิน
1.Capillary hydrostatic pressure :
แรงดันของสารน้ำที่อยู่ในหลอดเลือดฝอย --> ดันน้ำออกนอกหลอดเลือด
4.Interstitial osmotic pressure
น้ำระหว่างเซลล์ที่อยู่รอบหลอดเลือดฝอย --> ดึงน้ำออกจากหลอดเลือดฝอย
การแลกเปลี่ยนสารน้ำผ่านผนังหลอดเลือดฝอย
ใช้วิธีการกรองและดูดกลับ
(Filtration – Reabsorption)
การสูญเสียน้ำ (Fluid Volume loss)
สาเหตุภาวะการสูญเสียน้ำมาก
ท้องเสีย
อาเจียน
เหงื่อมาก
ภาวะน้ำเกิน
(Fluid Volume Excess)
ภาวะบวมน้ำ (edema & effusion)
บวมน้ำในชั้นใต้ผิวหนัง (ภาวะที่มีสารน้ำขังอยู่ใน interstitial tissue)
Transudate & Exudate
Transudate
เป็นสารน้ำที่มีลักษณะใส โปรตีนน้อย
Exudate
เป็นสารน้ำที่มีลักษณะขุ่นโปรตีนมาก
Morphology of edema
Subcutaneous edema
Pitting edema
Non-pitting edema
อวัยวะที่พบบ่อย
Pulmonary edema : ปอดบวม
สาเหตุมาจากการเพิ่มขึ้น pulmonary venous pressure
จากภาวะหัวใจล้มเหลว Shock
Brain edema
สาเหตุ เช่น การติดเชื้อ encephalitis (or meningitis) สมองตายขาดเลือด
หรือภาวะเลือดออกใน สมอง อุบัติเหตุทางสมอง เนื้องอกในสมอง
Congestion
Hyperemia
ภาวะที่ปริมาณเลือดเพิ่มขึ้น มีการขยายตัวของหลอดเลือดแดงขนาดเล็ก (arteriole)
เช่น กระบวนการอักเสบปริมาณเลือดที่เพิ่มขึ้น
Congestion
เลือดดำมีการไหลกลับ
เพิ่มขึ้นของปริมาณเลือดเนื่องจาก เลือดดำไหลกลับ congestion ที่ปอดอัน
เนื่องจากภาวะหัวใจล้มเหลว เนื้อเยื่อบริเวณนั้นจะมีสีเขียวคล้ำ (cyanosis)
•
Spider and Varicose Veins
การคั่งของเลือดในหลอดเลือดบริเวณขา
• Pulmonary congestion Chronic passive congestion
ภาวะเลือดคั่งเรื้อรังในปอด
Hemorrhage
Hemostasis
กระบวนการหยุดเลือดออก
Primary hemostasis
Secondary hemostasis
Vasoconstriction
Antithrombotic counter regulation
Hemorrhage
หลอดเลือดขนาดใหญ่มักมีสาเหตุมาจากความ
เสียหายที่เกิดกับหลอดเลือดโดยตรง เช่น อุบัติเหตุ
Thrombosis
สาเหตุ
การเปลี่ยนแปลงของการไหลเวียนของเลือด ไหลช้าลง-ไหลวน
การเปลี่ยนแปลงขององค์ประกอบในเลือดมีสารประเภท procoagulant
เพิ่มขึ้นประเภท anticoagulant ลดลง (Hypercoagulability)
การบาดเจ็บของผนังหลอดเลือด (Endothelial injury)
ก้อนเลือดเกาะติดกับผนังของหลอดเลือดหรือผนังของหัวใจ และอาจจะก่อให้เกิดการอุดกั้น
การเปลี่ยนแปลง
Resolution
: ก้อน thrombus อาจจะละลายโดยกระบวนการ fibrinolysis
Propagation :
ก้อน thrombus ที่ไม่สามารถละลายทำให้ก้อน เลือดขยายออกเรื่อย ๆ
Embolization :
ก้อน thrombus ที่แตกและหลุดจะลอยไปตามกระแสเลือด ไปอุดกั้นหลอดเลือด
Organization :
ก้อน thrombus ที่สลายไม่หมดจะมีการเจริญของ
granulation tissue เข้ามาจนกลายเป็น fibrosis
ผลของการเกิด
Infarction กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด
2.Edema and obstruction of venous outflow : ขีดทางการไหลที่ยานของหลอดเลือด
Emboli
Infection : เกิดการอักเสบ / ติดเชื่อร่วม
Inflammation of the vessel wall
Embolism
ไปอุดกั้นหลอดเลือดส่วนปลาย
อวัยวะที่เกิดลิ่มเลีอดได้บ่อย
Heart, Vessels
ชนิดของ emboli
Thromboemboli :
ร้อยละ 95 เป็น emboli ที่หลุดมาจากบริเวณที่เกิด thrombosis
Air (gas) emboli :
นักดำน้ำที่ขึ้นสู่ผิวน้ำเร็วเกินไป ทำให้แก๊สไนโตรเจนที่
ละลายในเลือดกลายสภาพเป็นฟองอากาศอุดกั้นในเส้นเลือด
Bone marrow emboli :
เกิดจากการหลุดของไขกระดูก
Tumor emboli
ทำให้เกิดการแพร่กระจายของมะเร็งไปยังอวัยวะอื่น
Cholesterol emboli
Foreign body emboli
เช่น ผงแป้งจากถุงมือ
Amniotic fluid emboli
Fat embolism :
เกิดจากการหลุดของหยดไขมัน (fat globule)
เข้าไป ในระบบไหลเวียนเลือด
แบ่งตามตำแหน่ง
Venous emboli
Arterial emboli emboli
Paradoxical emboli
Pulmonary embolism (PE)
ส่วนใหญ่เกิดจาก thromboemboli จากเส้นเลือดดำบริเวณขา DVT กรณีที่มีการอุดกั้นของ
pulmonary artery ขนาดใหญ่ (main pulmonary artery) จะทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิตได้
ภาวะขาดเลือด
(Ischemia)
การขาดเลือด แบบ infarction หรือ gangrene
ส่วนการขาดเลือดที่เกิดขึ้นอย่างช้า ๆ จะเกิดการเสื่อม
และฝ่อของอวัยวะแทน
Infarction
Venous
อุดกั้นของหลอดเลือดดำ
การตายของเนื้อเยื่อที่เกิดจาก
การขาดเลือดมาเลี้ยง
Hypotensive
: เกิดจากการลดลงของเลือดที่มาเลี้ยงเนื้อเยื่อ
ส่วนใหญ่สัมพันธ์กับภาวะ shock ที่มีความดันเลือดต่ำ
Arteria
l อุดกั้นของหลอดเลือดแดง
Gangrene
Dry gangrene :
พบได้ที่ แขน ขา และนิ้ว จากเนื้อที่ตายนั้น ทำให้แห้งเหี่ยวและมีสีดำ
Wet gangrene :
ใช้เรียกในเนื้อตายที่มีการติดเชื้อซ้ำ พบได้บ่อยในผู้ป่วย
เบาหวานที่มี infarct ของนิ้วเท้า
Shock
ชนิดของการ Shock 4 ขั้นหลักๆ
1.Hypovolemic shock
เกิดจากการเสียเลือด หรือมีปริมาณสารน้ำในหลอดเลือดลดลง
ภาวะเลือดออกอย่างรุนแรง ท้องเดิน ขาดน้ำและแผลไฟไหม้ ที่มีขนาดใหญ่
สาเหตุทั่วไป :
Gastrointestinal bleed
เลือดออกในทางเดินอาหาร
Vascular etiologies
หลอดเลือดโป่งพองในช่องท้องแตก
Spontaneous bleeding
GI losses
มีการสูญเสียปริมาตรนํ้า
2.Cardiogenic shock
เกิดจากการบีบตัวของกล้ามเนื้อหัวใจบกพร่อง หรือเกิดจากการ
ที่มีการอุดกั้นของ pulmonary artery หรือลิ้นหัวใจ
Shock จากการทำงาน
ของหัวใจผิดปกต
failure of cardiac pump
Arrhythmias
Cardiomyopathies
Mechanical,Valve
สาเหตุ
Arrhythmias → Loss of ventricular synchrony
Mechanical, Valve
acute myocardial infarction
3.Distributive shock
เกิดจาก Vasodilation / BP ลดลงทันที / ส่งผลให้
venous return ลดลงตามมา
แบ่งได้
1.Systemic IgE-mediated response: (Anaphylaxis)
2.Systemic inflammatory response (SIR)
3.Loss of sympathetic tone
4.Obstructive shock
Pulmonary vascular
Mechanical
กลไกที่ทำให้เลีอกไปหัวใจไม่ได้ ลมในช่องเยื่อหุ้มปอด
5.Mixed/unknown : กระท่อมไร้ท่อมีความผิดปกติ
เชลล์และเนื้อเยื่อขาดออกซิเจนทำให้อวัยวะขาดเลือด ทำงานไม่ได้
สุดท้ายจะตายได้
นางสาวพิชญาภา นิ่มมณี เลขที่ 38
นักศึกษาพยาบาลศาสตร์ชั้นปีที่ 2 รุ่นที่ 31