Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Close fracture both bone, รายชื่อ
นางสาวนิรมล กิจนอก รหัสนักศึกษา …
Close fracture both bone
การรักษา
ให้ยา
Cefazolin 1 mg. ทางหลอดเลือดดำทุก 6 ชั่วโมง
ให้ 0.9% Nss 1,000 ml rate 100 ml/hr
Morphine 10 mg ทางกล้ามเนื้อทุก 4 ชั่วโมง
การฟื้นฟูสภาพ,การหัดเดิน แบบไม่ลงน้ำหนัก
-
ผ่าตัด
Fasciotomy with external fixation
Split-thickness skin graft with adjust external fixation
-
-
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
ปัญหาที่4 เสี่ยงต่อการติดเชื้อ เนื่องจากมีแผลผ่าตัดเปิดช่องกล้ามเนื้อ และการใส่เครื่องยึดตรึงกระดูกภายนอกร่างกาย
-
ปัญหาที่5 ผู้ป่วยสูญเสียภาพลักษณ์ เนื่องจากมีการใส่วัสดุยึดตรึงกระดูกภายนอกร่างกาย และใช้ไม้ค้ำยันช่วยพยุงเดิน
กิจกรรมการพยาบาล
อธิบายและแนะนำให้ ผู้ป่วยเข้าใจสภาวะของการเจ็บป่วยและแผนการ รักษาว่าอุปกรณ์ดังกล่าวจะอยู่กับผู้ป่วยชั่วคราว เท่านั้นไม่ได้อยู่ตลอดไป
เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยได้ซักถาม ข้อสงสัยความคับข้องใจ และระบายความรู้สึก รวมทั้ง ให้ความมั่นใจและกำลังใจสำหรับการเจ็บป่วยที่ ตนเองเผชิญ เพื่อให้ผู้ป่วยยอมรับและสามารถปรับ ตัวได้
-
-
-
-
ปัญหาที่2 ผู้ป่วยไม่สุขสบายจากความปวด เนื่องจากมีกระดูกขาขวาหัก ร่วมกับภาวะความดันในช่องกล้ามเนื้อสูง
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินความปวดและให้ยาลดปวดตามแผนการรักษา
ได้แก่ ยา Morphine 10 mg. ทางกล้ามเนื้อ ทุก 4 ชม. และ ยา Cefazolin 1 gm. ทางหลอดเลือดดำ ทุก 6 ชม.
โดยให้เมื่อผู้ป่วยมีอาการปวด
เฝ้าระวังอาการข้างเคียงจากการใช้ยาและสังเกตอาการ แพ้ยา เช่น อาการคลื่นไส้อาเจียนหลังได้ยา 15-30 นาที
-
-
-
-
ปัญหาที่1 เสี่ยงต่อการสูญเสียอวัยวะ เนื่องจากมีภาวะความดันในช่องกล้ามเนื้อสูง และมีหลอดเลือดแดงฉีกขาด
การพยาบาล
ประเมินอาการและอาการแสดงของอาการขาดเลือดที่อวัยวะส่วนปลาย
รวมทั้งภาวะความดันในช่องกล้ามเนื้อสูงด้วยหลัก 7P
ลดความดันในช่องกล้ามเนื้อและเพิ่มการไหลเวียนเลือด โดยการคลายผ้ายืดที่รัดแน่น
จัดท่านอน โดยยกขาขวาสูงเท่ากับระดับหัวใจเพื่อเพิ่มการไหลเวียนกลับของเลือดและป้องกันอาการบวม
-
ตรวจสอบ Capillary refill ดูแลให้ Oxygen cannula 5 LPM
เพื่อคงค่าความอิ่มตัวของออกซิเจนในร่างกายและรายงานให้แพทย์รับทราบ
การประเมินสภาพผู้ป่วย
ตรวจร่างกาย :
2.การคลำ
คลำชีพจรหลังเท้า (Dorsalis Pedis pulse) และชีพจรบริเวณข้อเท้า หลังตาตุ่ม (Posterior tibialis artery) ไม่ได้ ปวด
-
-
-
การซักประวัติ
-
ระยะเวลาที่เกิดตั้งแต่บาดเจ็บจนถึงขณะที่มารับการรักษาเป็นระยะเวลานานเท่าไร เพื่อให้รู้ถึงความเรื้อรังของโรค ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นหลังจากบาดเจ็บ
ลักษณะของการบาดเจ็บซึ่งจะช่วยบอกกลไกการบาดเจ็บ อันเป็นแนวทางในการรักษา ที่จะได้กล่าวถึงต่อไปในภายหลัง
การทำงานของอวัยวะนั้นๆ รวมทั้ง อวัยวะส่วนปลายที่ได้รับบาดเจ็บ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การทำงานของเส้นประสาทและเส้นเลือด เพื่อเป็นข้อมูลเบื้องต้นในการที่จะติดตามการดำเนินของโรคต่อไป
อาการสำคัญ
-
ดื่มสุรา ขับรถ จักรยานยนต์ชนกับรถกระบะ ไม่สลบ ขาขวาปวดบวมผิดรูป มีแผลเป็นรูเจาะ 1 รู มีแผลถลอกที่แขน ขวา และมีแผลฉีกขาดที่ศีรษะยาว 3 ซ.ม.
ผลตรวจห้องปฏิบัติการ
Hematocrit
ผลตรวจ 30% มีค่าต่ำกว่าปกติ พบว่าปริมาณของเม็ดเลือดแดงมีความเข้มข้นน้อยกว่าปกติ
-
พยาธิสภาพ
Bone
มีการตึงรั้งของกล้ามเนื้อตามแนวกระดูกจะทำให้อวัยวะที่หักนั้นมีความยาวสั้นลง ขณะเดียวกันการบาดเจ็บที่เกิดขึ้นส่งผลต่อการทำงานของเส้นประสาท เอ็น กล้ามเนื้อ ข้อต่อที่อยู่รอบๆตำแหน่งของกระดูกที่หักจะมีการผิดรูป โก่งคดงอ หากมีการเคลื่อนของปลายชิ้น กระดูกหักมีการเสียดสีกันจะได้ยินเสียง Crepitus
เมื่อเกิดกระดูกหักจะมีการบาดเจ็บฉีกขาดของเยื่อหุ้มกระดูกเนื้อเยื่อ และหลอดเลือดที่อยู่รอบๆ ทำให้มีหลอดเลือดคั่งอยู่ในเยื่อหุ้มกระดูกผู้ป่วยที่มีกระดูกหักแบบปิดบริเวณกระดูกหักแบบปิด บริเวณกระดูกหักจะมีลักษณะเฉพาะ
-
Compartment Syndrome
เป็นภาวะปกติภายในช่องกล้ามเนื้อมีความดันอยู่ในช่วง 10-12 mmHg มีการไหลเวียนเลือดในหลอดเลือดฝอยที่เป็นปกติ เมื่อมีการเพิ่มขึ้นของสิ่งกินพื้นที่ในช่องกล้ามเนื้อ (increasecompartmentcontent) และการลดลงของขนาดช่องกล้ามเนื้อ (decreased compartment size) ส่งผลให้เกิด การเพิ่มขึ้นของความดันในช่องกล้ามเนื้อ กดหลอดเลือดส่งผลให้เลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อและเส้นประสาทลดลง
กล้ามเนื้อจะเกิดความผิดปกติก่อนเส้นประสาทเนื่องจาก มีการเมตาบอลิซึมสูงและต้องการออกซิเจนมากกว่า เมื่อกล้ามเนื้อขาดเลือด เกิดการบาดเจ็บ หลั่งสารที่เกี่ยวข้องกับ กระบวนการอักเสบได้แก่อฮีสตามีน (histamine)อินเตอลิวคิน (interleukins) พรอสต้าแกรนดิน (prostaglandin) ส่งผลให้ หลอดเลือดขยายตัวซึมผ่านของสารน้ำเข้าไป ยังพื้นที่ว่างระหว่างเนื้อเยื่อเกิดแรงดันในช่องกล้ามเนื้อสูงมากขึ้น
หากมีความดันในช่องกล้ามเนื้ออยู่ในช่วง 20-30 mmHg อาจพบอาการปวด (pain) และอาการชารู้สึกเจ็บลดลง (paraesthesia) อย่างรวดเร็วภายใน 30 นาทีหลังที่ขาดเลือดไปเลี้ยงหากเนื้อเยื่อขาดเลือดไปเลี้ยงเพียง 1 ชั่วโมง จะทำให้เกิดภาวะเส้นประสาทถูกทำลายได้แต่อยู่ในระดับที่ไม่รุนแรง (neurapraxia) ซึ่งยังมีการทำงานของเส้นประสาทอยู่ แต่จะมีการหยุดการทํางานชั่วคราวนานไม่เกิน 2 ถึง 3 สัปดาห์
หากมีความดันในช่องกล้ามเนื้ออยู่ในช่วง 40-80 mmHg เนื้อเยื่อขาดเลือดไปเลี้ยงต่อเนื่อง 4 ชั่วโมงจะเกิดภาวะเส้น ประสาทถูกทำลายมากขึ้น (axonotmesis) ต้องใช้เวลา ในการฟื้นตัวที่ยาวนานมากขึ้น และเกิดภาวะเนื้อเยื่อตาย (necrosis) และเส้นประสาทถูกทำลายถาวรได้ (permanent neurological dysfunction) เมื่อขาดเลือดไปเลี้ยงนานมากกว่า 6-12 ชั่วโมง
การประเมิน
- สีของปลายเท้าและข้อเท้าขวาคล้ำ Capillary Refill 2+
-
-
-
-
- ผู้ป่วยมีอาการปวดขา Pain scale ระดับ 7 คะแนนปวดมากที่สุดจนทนไม่ได้แม้นอนนิ่งๆ
-
-
-
-
- ความดันในช่องกล้ามเนื้อสูง กดหลอดเลือด ส่งผลให้เลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อและเส้นประสาทลดลง
-
- ปลายเท้าเย็น T 36.9 องศาเซลเซียส
-
- คลำชีพจรหลังเท้าได้เบาๆ
- คลำชีพจรหลังเท้า (Dorsalis Pedis pulse)
- ชีพจรบริเวณข้อเท้า หลังตาตุ่ม (Posterior tibialis artery)
รายชื่อ
นางสาวนิรมล กิจนอก รหัสนักศึกษา 6301110801020
นางสาวเนวิกา จันทร์สุข รหัสนักศึกษา 6301110801021
นางสาวเนื้อทอง ประมาพันธ์ รหัสนักศึกษา 6301110801022
นางสาวเบญจมาศ บัวหลวง รหัสนักศึกษา 6301110801023
นางสาวแวแอเสาะ มาหะมะ รหัสนักศึกษา 6301110801043
นางสาวศศิกานต์ ศรีระษา รหัสนักศึกษา 6301110801044
นางสาวศิริกัญญา ไวยานนท์ รหัสนักศึกษา 6301110801045
นางสาวศิริพร ตลอดเเก้ว รหัสนักศึกษา 6301110801046
นางสาวศิริวรรณ คำชัยภูมิ รหัสนักศึกษา 6301110801047
นางสาวสมฤดี สืบดี รหัสนักศึกษา 6301110801049
นางสาวสาธนี ศรีเมฆ รหัสนักศึกษา 6301110801050
นางสาวสายชล ลำพุทธา รหัสนักศึกษา 6301110801051
นางสาวสุขฤทัย สมานวัน รหัสนักศึกษา 6301110801052
นางสาวสุจิวรรณ เขินไพร รหัสนักศึกษา 6301110801053
นางสาวสุภิญญา คำสมหมาย รหัสนักศึกษา 6301110801054
นางสาวสุอังคนา ธิศาเวช รหัสนักศึกษา 6301110801056
นางสาวโสรญา ศิริสุข รหัสนักศึกษา 6301110801057
มหาวิทยาลัยปทุมธานี
-