Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พยาธิสรีรวิทยาของระบบไหลเวียน, image, image, image - Coggle Diagram
พยาธิสรีรวิทยาของระบบไหลเวียน
Hematology (โลหิตวิทยา)
หน้าที่ของเลือด
การขนส่ง (Transportation)
สารอาหาร ก๊าซ ของเสีย ฮอร์โมน
การควบคุม (Regulation)
-pH ความเป็นกรดด่างของร่างกาย
-Temperature
-Water balance น้ำในร่างกาย
การป้องกัน (Protection)
-Blood loss การเสียเลือด
-Foreign body สิ่งแปลกปลอม
เลือด (Blood
)
น้ำเลือด (plasma)
เป็นของเหลวทเป็นตัวกลางให้เม็ดเลือดแขวนตัวลอยอยู่
++การแยกพลาสมาต้องเก็บเลือดโดยใช้สารกันเลือดแข็ง(anticoagulants)
เม็ดเลือด (Corpuscles หรือ formed elements)
• เม็ดเลือดแดง ( Red blood cell)
• เม็ดเลือดขาว ( White blood cell)
• เกล็ดเลือดหรือทรอมโบไซต์(Thrombocytes หรือ Platelets)
Origin and development of blood cell
Stem cell
→ Myeloid → RBC, Platelets
Stem cell
→ Lymphoid → WBC
เม็ดเลือดแดง Erythrocyte or Red blood cell
-มีลักษณะเป็นถุง รูปร่างกลม ตรงกลางเว้าเข้าหากันทั้งสองด้าน (biconcave)
-หน้าที่ของเม็ดเลือดแดง นำพา Hemoglobin (Hb มีหน้าที่ ในการนำออกซิเจน)
ปกติ Hb typing→ A2A
ปัจจัยที่สำคัญเกี่ยวข้องกับการสร้างเม็ดเลือดแดง
-ปริมาณออกซิเจนในเลือด
-การเสียเลือด
-การได้รับเลือด
-ฮอร์โมนต่างๆ
เกร็ดเลือด
ไม่มีนิวเคลียส ส่วนใหญ่รูปร่างกลม แบนหรือ รูปไข่ติดสีฟ้าอ่อน
ทำหน้าที่สำคัญเกี่ยวกับการแข็งตัวของเลือด
เม็ดเลือดขาว
เมีหน้าที่หลัก คือ ป้องกันและทำลายสิ่งแปลกปลอม ที่เข้าสู่ร่างกาย
-มีคุณสมบัติที่สำคัญ คือ Diapedesis, Chemotaxis, Phagocytosis
Anemia (ภาวะโลหิตจาง)
ภาวะที่มีเม็ดเลือดแดงในกระแสเลือดลดลงกว่าปกติ
อาการแสดง Symptoms
เหนื่อย อ่อนเพลีย ซีด ใจสั่น แน่นอก เวียนศีรษะ
Investigation ตรวจสอบ
•การนับเม็ดเลือดอย่างสมบูรณ์ (CBC)
• การทดสอบฮีโมโกลบินในอุจจาระ
• ระดับธาตุเหล็ก
•การทดสอบการทํางานของไต
•ไขกระดูก-การตรวจชิ้นเนื้อ
สาเหตุของ Anemia
Decreased red cell productionor
Hypoproliferation สร้างเม็ดเลือดแดงน้อย
-ขาดโฟเลท, ขาดวิตามินบี 12, ขาดธาตุเหล็ก
-จากโรคไตวายเรื้อรัง
Aplastic anemia ภาวะที่ไขกระดูกไม่มีการแบ่งตัว (aplasia)
มีการฝ่อของไขกระดูก ทำให้เม็ดเลือดแดง เม็ดเลือดขาว และเกล็ดเลือดลดปริมาณลง
สาเหตุ
toxic exposure,ยาฆ่าแมลง, ได้รับสารเคมี
Increased red cell destructionor
Hemolysis เม็ดเลือดแดงถูกทำลายมาก
ซีดจากการถูกทำลายที่ ตับ ม้าม
โรค Thalassemia
เป็นความผิดปกติ ทางพันธุกรรมที่เกิดจากการขาดหายไปบางส่วน หรือลดการสร้างสาย globin ซึ่งเป็นส่วนประกอบของฮีโมโกลบิน HbA (α2β2)
โรค G6PD deficiency
-เป็นความผิดปกติทางพันธุกรรมเกี่ยวกับ โครโมโซม X-linked
-พร่องเอนไซม์ G6PD เป็นเอนไซม์ป้องกันภาวะ oxidative stress
-อาการทั่วไป : acute hemolytic anemia มักเกิด จากผู้ป่วยได้รับยาบางชนิด ติดเชื้อ ลูกเหม็น หรือกินถั่วปากอ้าสุกๆดิบๆ ผู้ป่วยจะอ่อนเพลีย เหลือง ซีด ปัสสาวะมีสีเข้มดำ
Blood loss เสียเลือด
Acute
-สารน้ำในร่างกายลดลงอย่างรวดเร็ว
-RBC ขนาดปกติและการติดสีปกติ
-อันตรายถึงชีวิตถ้าไม่ได้รับการช่วยเหลือ
Chronic
-สารน้ำในร่างกายปกติ
-RBC ขนาดเล็กลงและการติดสี
-จางลงค่อยเป็นค่อยไปร่างกายปรับตัวได้
Polycytemia ภาวะเม็ดเลือดแดงมาก
o Relative polycythemia เนื่องจากมีปริมาณพลาสมาลดลง ทำให้ความเข้มข้นของเม็ดเลือดแดงเพิ่มมากขึ้น เช่น Burn , Dehydration , Stress
o Absolute polycythemia ปริมาณเม็ดเลือดแดงเพิ่มขึ้นอย่างแท้จริง จาก Hypoxemia /Hypoxia, Chronic lung disease, ความผิดปกติของการจับออกซิเจนแน่นเกินไปของฮีโมโกลบิน, High altitude หรือ ผิดปกติที่ไต สร้าง erythropoietin มากขึ้น
Purpura การเกิดจ้ำเลือดบนผิวหนัง
Purpura : red → becomes darker→ purple→ brown-yellow→ fades
Arrhythmia หัวใจเต้นผิดจังหวะ
การบีบตัวหัวใจผิดปกติ
Tachycardia
หัวใจเต้นเร็ว มากกว่า 100 ครั้ง ต่อนาที
Bradycardia
หัวใจเต้นช้า น้อยกว่า 60 ครั้ง ต่อนาที
(Regular เต้นสม่ำเสมอ
Irregular เต้นไม่สม่ำเสมอ)
Arterial pulse ชีพจร
ข้อมูลที่ควรตรวจ
– Points
– Rate
– Rhythm
– Amplitude
– Contour : pulse wave
การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างหัวใจ
ความผิดปกติแต่กำเนิด เช่น ผนังกั้นห้องหัวใจรั่วความผิดปกติของลิ้นหัวใจ เช่น ลิ้นหัวใจตีบ/รั่ว
ความผิดปกติของกล้ามเนื้อหัวใจ เช่น กล้ามเนื้อหัวใจหนา
Cardiac hypertrophy>> เป็นภาวะซึ่งหัวใจห้องใด ห้องหนึ่งหรือมากกว่าหนึ่ง ห้องมีมวลมากกว่าปกติ จำนวนเซลล์อาจคงที่หรือ ลดลง
ปัจจัย
pressure overload, Volume overload
ความผิดปกติของเยื่อหุ้มหัวใจ เช่น เยื่อหุ้มหัวใจหนาบีบรัดหัวใจหรือ ภาวะบีบรัดหัวใจ (cardiac tamponade)
ㆍCardiac tamponade ภาะที่มีของเหลวปริมาณมากอยู่ในช่อง เยื่อหุ้มหัวใจทำให้เพิ่มแรงดันในถุงเยื่อหุ้มเยื่อใจ พยาธิสรีรวิทยา : เมื่อมีน้ำในเยื่อหุ้มหัวใจมาก แรงดันในถุงเยื่อหุ้มหัวใจ จะเพิ่มขึ้น ทำให้เลือดดำไหลกลับเข้าหัวใจห้องบนขวาลดลง ผู้ป่วยจะมี ความดันเลือดลดลงและช๊อค
สาเหตุ
: มะเร็งและวัณโรค
ความดันโลหิตสูง
ความดันโลหิตสูงทำให้เกิดความเสียหาย และการเสื่อมสภาพของหลอดเลือดแดง นำไปสู่สภาวะการแข็งตัวของหลอดเลือด การอุดตันของหลอดเลือด หรือหลอดเลือดแตกได้ นอกจากนี้ความดันโลหิตสูงยังเป็นปัจจัยเสี่ยงทำให้เกิดโรคแทรกซ้อนอื่นๆ ตามมาได้เช่น โรคหัวใจวาย โรคอัมพาต โรคสมองเสื่อมหรือโรคไตวายเรื้อรัง
อาการ
ปวดศีรษะ,มึนงงศีรษะ คลื่นไส้, อาเจียน, เหนื่อยง่าย, หน้ามืดเป็นลม
ข้อพึงปฎิบัติ
-ผู้ป่วยควรนั่งในท่าที่สบายและสภาพแวดล้อมที่เงียบนาน อย่างน้อย 5 นาที ก่อนวัดความดัน
-วัดความดันอย่างน้อย 3 ครั้ง ห่างกัน 1-2 นาที ถ้าวัดแล้ว สองครั้งแรกมี ค่าต่างกันมากกว่า 10 mmHg ใช้ค่าเฉลี่ยสองครั้งหลัง
-ถ้ามีภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะควรใช้ manual auscultatory method
-ควรเลือกขนาด cuff ให้เหมาะสม และอยู่ในระดับเดียวกับหัวใจ
-ในการตรวจวัดความดันครั้งแรก ต้องวัดทั้งสองข้าง และตรวจวัดทั้งท่านั่งและท่ายืน นาน 1,3 นาที
Hemostasis กลไกการห้ามเลือด
1) หลอดเลือดหดตัว (Vasoconstriction) เมื่อเกิดบาดแผล serotonin จากplateletsจะกระตุ้นให้หลอดเลือดหดตัว
2) การเกาะกลุ่มของเกร็ดเลือด (Platelet aggregation) คือเซลล์ที่ได้รับความเสียหาย และplatelesจะปล่อยสาร ADP ออกมาทำให้plateletsเกิดการเปลี่ยนรูปร่าง และaggregate อุดหลอดเลือดที่เกิดบาดแผล
3) การแข็งตัวของเลือด (Coagulation, clot) เกิดจากปฏิกิริยาของplatelets สารต่างๆ ในพลาสมา และสารจากเนื้อเยื่อที่เกิดบาดแผล