Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พยาธิสรีรวิทยาของระบบไหลเวียน - Coggle Diagram
พยาธิสรีรวิทยาของระบบไหลเวียน
Hematology โลหิตวิทยา
การขนส่ง Transportation
สารอาหาร (Nutrient)
ก๊าซ (Gaseous)
ของเสีย (Waste product)
ฮอร์โมน (Hormone)
การควบคุม (Regulation)
pH ความเป้นกรดด่างของร่างกาย
Temperature อุณหภูมิ
Water balance น้ำในร่างกาย
การป้องกัน (Protection)
ฺBlood loss การเสียเลือด
Foreign body สิ่งแปลกปลอม
น้ำเลือด (Plasma)
เป็นของเหลวที่เป็นตัวกลางให้เม็ดเลือดแขวนตัวลอยอยู่
มีประมาณ 55% ของเลือด
เม็ดเลือด (Corpuscles หรือ Formed element)
คือส่วนที่เป็นตัวเซลล์แขวนลอยไหลเวียนในหลอดเลือดทั่วร่างกาย มีประมาณ 45% ของเลือด
เม็ดเลือดขาว (White blood cell)
ป้องกันและทำลายสิ่งแปลกปลอมที่เข้าสู่ร่างกาย
เกล็ดเลือดหรือทรอมโบไซต์ (Platelets หรือ Thrombocyte)
การแข็งตัวของเลือด ช่วยให้เลือดหยุดไหล
หรือห้ามเลือดเมื่อเกิดบาดแผล
เม็ดเลือดแดง (Red blood cell)
นำพาฮีโมโกลบิน ไปยังเซลล์ต่างๆในร่างกาย
Hemostasis กลไกการห้ามเลือด
หลอดเลือดหดตัว เมื่อเกิดบาดแผล
การเกราะกลุ่มของเกร็ดเลือด เพื่ออุดหลอดเลือดที่เกิดบาดแผล
การแข็งตัวของเลือด
Anemia ภาวะโลหิตจาง
ภาวะที่เม็ดเลือดแดงในกระแสเลือดลดลงกว่าปกติ
อาการ
เหนื่อย
อ่อนเพลีย
ซีด
ใจสั่น ใจเต้นผิดจังหวะ
หายใจตื้นเร็ว
แน่นอก
เวียนศีรษะ
ปลายมือปลายเท้าเย็น
ปวดศีรษะ
สาเหตุ
สร้างน้อย
ขาดโฟเลท
เลือดจาง ลิ้นอักเสบ
ขาดวิตามินบี 12
มีความผิดปกติเกิดขึ้นในไขกระดูก
ขาดธาตุเหล็ก
กลืนอาหารแล้วเจ็บ (Dyspagia) มุมปากเปื่อย (Angular stomatitis)
เล็บอ่อนแบนหรือช้อนขึ้น (Koilonychia ; spoon nail)
CKD จากโรคไตวายเรื้อรัง
Aplastic anemia
ภาวะที่ไขกระดูกไม่มีการแบ่งตัว หรือมีการฝ่อของไขกระดูก
ทำลายมาก
Thalassemia Hemogobin E
Sickle cell Disease
เสียเลือด
Acute
สารน้ำในร่างกายลดลงอย่างรวดเร็ว
RBC ขนาดปกติและการติดสีปกติ
อันตรายถึงชีวิตถ้าไม่ได้รับการช่วยเหลือ
Chronic
สารน้ำในร่างกายปกติ
RBC ขนาดลดลงและการติดสีจางลง
ค่อยเป็นค่อยไป ร่างกายปรับตัวได่
Polycytemia ภาวะเม็ดเลือดแดงมาก
การเพิ่มขึ้นของเม็ดเลือดแดง แบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ
Relative polycythemia ปริมาณพลาดมาลดลง
ทำให้ความเข้มข้นของเม็ดเลือดแดงเพิ่มมากขึัน
Absolute polycythemia ปริมาณเม็ดเลือดแดงเพิ่มขึ้นอย่างแท้จริง จาก Hypoxemia/Hypoxia
ลักษณะทางคลินิก
เลือดหนืด เนื้อเยื่อขาดออกซิเจน กระทบต่อสมองและหัวใจ
มีอาการ cynosis หอบเหนื่อยง่าย เป็น Thrombosis
Purpura การเกิดจ้ำเลือดบนผิวหนัง
เลือดออกชั้นผิวหนัง
red -> become darker -> purple -> brown-yellow -> fades
Arrhythmia หัวใจเต้นผิดจังหวะ
หัวใจเต้นเร็วมากกว่า 100 ครั้ง/นาที
Sinus นำไฟฟ้าเร็ว
Atrial fibrillation
Atrial flutter
Ventricular fribrillation
Ventricular tachycadia
หัวใจเต้นช้า น้อยกว่า 60 ครั้ง/นาที
Sinus นำไฟฟ้าช้า
Atrioventricular block
Tachycardia
หัวใจเต้นเร็ว มากกว่า 100 ครั้ง/นาที
Regular เต้นเร็วสม่ำเสมอ
Irregular เต้นเร็วไม่สม่ำเสมอ
Bradydcardia
หัวใจเต้นช้า น้อยกว่า 60 ครั้ง/นาที
Regular เต้นช้าสม่ำเสมอ
Irregular เต้นช้าไม่สม่ำเสมอ
Arterial pulse
Points
Rate
Rhythm
Amplitude
Contour
ความผิดปกติของกล้ามเนื้อหัวใจ : กล้ามเนื้อหัวใจหนา
ความผิดปกติของลิ้นหัวใจ : ลิ้นหัวใจตีบ/รั่ว
โรคลิ้นหัวใจเสื่อมแบบเลือดไหลววนกลับ (Regurgitation) เกิดจากการที่ลิ้นหัวใจเสื่อม ทำให้ปิดไว้ไม่ได้แน่นใช่วงหัวใจบีบตัว
โรคลิ้นหัวใจตีบ (Stenosis) คือช่องเปิดของลิ้นจะตีบแคบลง เนื่องจากลิ้นหัวใจหนา แข็ง ไม่ยืดหยุ่น
โรคลิ้นหัวใจฝ่อ (Atresia)
Immunologic thrombocytopenic purpura (ITP)
มีเกร็ดเลือดต่ำกว่าปกติ
กลไก
การติดเชื้อไวรัส -> immune complex เกาะบริเวณผิวเกล็ดเลือด -> เกล็ดเลือดถูกทำลาย -> การแข็งตัวผิดปกติ ทำให้เลือดออกง่าย
ลักษณะทางคลินิก
ภาวะเกล็ดเลือดต่ำ
เลือดออกจากเยื่อบุจมูก/ช่องปาก
Ecchymoses and petechia
เลือดออกในระบบประสาทส่วนกลาง
Approach to bleeding
Vascular defect
สาเหตุ
ภาวะหลอดเลือดเปราะ จากการติดเชื้อ สารเคมี
สารพิษ ภาวะทุพโภชนาการ ได้ยาสเตียรอยด์
ภาวะภูมิแพ้
โรคทางพันธุกรรม
ขาดวิตามินซี
Platelet disorder
เลือดออกง่ายเป็นเวลานานๆ
Thrombocytosis
ภาวะเกร็ดเลือดมาก โดยมีจำนวนมากกว่า 400,000 เซลล์ต่อไมโครลิตร
ไม่ค่อยแสดงอาการให้เห็น อาจก่อให้เกิด thrombosis ง่ายขึ้น หรือเลือดออกได้เอง
สาเหตุ
ความเครียด การได้รับบาดเจ็บ การติดเชื้อ ผ่าตัดม้าม มะเร็ง
coagulopathy
แบ่งออกเป็น 4 กลุ่ม
Coagulation factor : Hemophilia
Hyperfribrinolysis คนไข้โรคตับ
DIC : ภาวะลิ่มเลือดกระจายทั่วไปในหลอดเลือด
ขาดวิตามินเค
Hypertension
เกิดจาก
กินเกลือเยอะ
ความผิดปกติของหลอดเลือด Arteries
โรคทางพันธุกรรม
ความเครียด
ทานยาสเตียรอยด์
ตั้งครรภ์
การปรับพฤติกรรม
จำกัดเกลือ น้อยกว่า 5 กรัมต่อวัน
จำกัดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
เพิ่มการรับประทานผัก ผลไม้ ปลา ถั่ว
ลดการรับประทานเนื้อแดง
ควบคุมน้ำหนักไม่ให้ค่า BMI มากกว่า 30 kg/m2
ออกกำลังกายง
งดบุหรี่