Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
นโยบายกฎหมาย แผนผู้สูงอายุแห่งชาติและจริยธรรมในการดูแลผู้สูงอายุ,…
นโยบายกฎหมาย แผนผู้สูงอายุแห่งชาติและจริยธรรมในการดูแลผู้สูงอายุ
เส้นทางนโยบาย กฎหมาย ที่เกี่ยวข้องกับผู้สูงอายุไทย
เส้นทางของนโยบาย กฎหมายที่เกี่ยวกับผู้สูงอายุไทย
พ.ศ.2525
-จัดตั้งคณะกรรมการผู้สูงอายุแห่งชาติ -จัดทำแผนผู้สูงอายุแห่งชาติ ฉบับที่ 1
-จัดตั้งให้ วันที่ 13 เมษายน ของทุกปี เป็นวัน "ผู้สูงอายุแห่งชาติ"
พ.ศ.2540
-ประเทศไทยมีรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ที่เกี่ยวข้องกับผู้สูงอายุ ได้แก่ มาตรา 54 และ 80
พ.ศ.2541
-มีการรับรองปฎิญญามาเก๊า
พ.ศ.2542
-องค์การสหประชาชาติประกาศให้เป็นปีสากล
พ.ศ.2545
-จัดทำแผนผู้สูงอายุแห่งชาติ ฉบับที่ 2
พ.ศ.2546
-จัดทำพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ
พ.ศ.2550
-ประเทศไทยมีรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยที่เกี่ยวข้องกับผู้สูงอายุ ได้แก่ มาตรา 53 และ 80
กฏหมาย นโยบายที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับผู้สูงอายุไทย
แผนผู้สูงอายุแห่งชาติฉบับที่ 1 พ.ศ.2525-2544
แผนผู้สูงอายุแห่งชาติฉบับบที่ 1 มองว่าผู้สูงอายุเป็นบุคคลที่ได้ทำคุณประโยชน์ต่อสังคมและสมควรได้รับการตอบแทน
แผนผู้สูงอายุแห่งชาติ ฉบับที่ 2 พ.ศ.2545-2564
ประกอบด้วย 5 ยุทธศาสตร์ 19 มาตราการ
ยุทธศาสตร์ที่ 5 ยุทธศาสตร์ด้านการประมวล และพัฒนาองค์ความรู้ด้านผู้สูงอายุ
มาตราการ 1 สนับสนุนงานวิจัยการพัฒนาการบริการหรือดำเนินการที่เป็นประโยชน์แก่ผู้สูงอายุ
มาตราการ 2 สนับสนุนงานวิจัยการส่งเสริมให้ผู้สูงอายุสามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมอย่างเหมาะสม
มาตราการ 3 ดำเนินการตามแผนผู้สูงอายุแห่งชาติที่มีมาตรฐานอย่างต่อเนื่อง
มาตราการ 4 พัฒนาระบบข้อมูลทางด้านผู้สูงอายุให้เป็นระบบทันสมัย
ยุทธศาสตร์ที่ 4 ยุทธศาสตร์ด้านการบริหารจัดการเพื่อพัฒนางานด้านผู้สูงอายุระดับชาติ
มาตราการ 1 การบริหารจัดการเพื่อการพัฒนางานด้านผู้สูงอายุระดับชาติ
มาตราการ 2 ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการผลิตหรือฝึกอบรมบุคลากรด้านผู้สูงอายุ
ยุทธศาสตร์ที่ 2
ยุทธศาสตร์ด้านการส่งเสริมผู้สูงอายุ
มาตราการ 1 ส่งเสริม ป้องกัน ดูแลตนเองเบื้องต้น
มาตราการ 2 จัดบริการให้คำปรึกษาทั่วไปในสถานบริการทางสุขภาพของรัฐและเอกชน
มาตราการ 3 ส่งเสริมการอยู่ร่วมกันและสร้างความเข็มแข็งขององค์กรผู้สูงอายุ
มาตราการ 4 ส่งเสริมด้านการทำงานและการหารายได้ของผู้สูงอายุ
มาตราการ 5 สนับสนุนผู้สูงอายุที่มีคุณภาพ
มาตราการ 6 ส่งเสริมสนับสนุนสื่อทุกประเภทให้มีรายการเพื่อผู้สูงอายุ
มาตราการ 7 ส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้สูงอายุมีที่อยู่อาศัย
ยุทธศาสตร์ที่ 3 ยุทธศาสตร์ด้านระบบคุ้มครองทางสังคมสำหรับผู้สูงอายุ
มาตราการ 1 คุ้มครองด้านรายได้
มาตราการ 2 หลักประกันสุขภาพ
มาตราการ 3 ด้านครอบครัวผู้ดูแลและการคุ้มครอง
มาตราการ 4 ระบบบริการและเครอข่ายการเกื้อหนุน
ยุทธศาสตร์ที่ 1
ยุทธศาสตร์ด้านการเตรียมความพร้อมของประชาการเพื่อวัยสูงอายุที่มีคุณภาพ
มาตราการ 1 หลักประกันด้านรายได้เพื่อวัยสูงอายุ
มาตรการ 2 การให้การศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต
มาตรการที่ 3 การปลุกจิตสำนึกให้คนในสังคมตระหนักถึงคุณค่าและศักดิ์ศรีของผู้สูงอายุ
พระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ.2546
-บทบัญญัติเกี่ยวกับคำจำกัดความ มาตรา 1-2
-บทบัญญัติเกี่ยวกับรัฐมนตรีผู้รับผิดชอบ มาครา 3
-บทบัญญัติเกี่ยวกับคณะกรรมการผู้สูงอายุแห่งชาติ มาตรา 4-10
-บทบัญญัติเกี่ยวกับสิทธิผู้สูงอายุ มาตรา 11-12
-บทบัญญัติเกี่ยวกับ 'กองทุนผู้สูงอายุ' มาตรา 14-16
-บทบัญญัติเกี่ยวกับสิทธิผู้เลี่ยงดูผู้สูงอายุ มาตรา 17
-บทบัญญัติเกี่ยวกับกองทุนผู้สูงอายุ มาตรา 16,18-22
-บทบัญญัติระหว่างเตรียมการ มาตรา 23
-บทบัญญัติเกี่ยวกับรัฐมลตรีรักษาการ มาตรา 24
แผนผู้สูงอายุแห่งชาติ ฉบับที่ 2 พ.ซ. 2545-2564 ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1 พ.ศ.2552
ประกอบด้วย 5 ยุทธศาสตร์ 18 มาตราการ
ยุทธศาสตร์ที่ 3 ระบบคุ้มครองทางสังคมผู้สูงอายุ
มาตราการ 1 คุ้มครองด้านรายได้
มาตรา 2 หลักประกันด้านสุขภาพ
มาตราการ 3 ด้านครอบครัว ผู้ดูและและการคุ้มครอง
มาตราการ 4 ระบบบริการและเครือข่ายการเกื้อหนุน
ยุทธศาสตร์ 4 การบริหารจัดการเพื่อการเพิ่มการพัฒนางานด้านผู้สูงอายุอย่างบูรณาการระดับชาติ
มาตราการ 1 การบริหารจัดการเพื่อพัฒนางานด้านผู้สูงอายุระดับชาติ
มาตราการ 2 ส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาบุคลากรด้านผู้สูงอายุ
ยุทธศาสตร์ที่ 2 การส่งเสริมและพัฒนาผู้สูงอายุ
มาตราการ 1 ส่งเสริมความรู้ ด้านการส่งเสริมสุขภาพป้องกันดูแลตนเอง
มาตราการ 2 ส่งเสริมการอยู่ร่วมกันและสร้างความเข็มแข็งขององค์กรผู้สูงอายุ
มาตราการ 3 ส่งเสริมด้านการทำงานและการหารายได้ของผู้สูงอายุ
มาตราการ 4 สนับสนุนผู้สูงอายุที่มีศักยภาพ
มาตราการ 5 ส่งเสริมสนับสนุนสื่อทุกประเภทให้มีรายการเพื่อผู้สูงอายุ
มาตราการ 6 ส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้สูงอายุอาศัยในสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัย
ยุทธศาสตร์ที่ 5 การประมวล พัฒนา และเผยแพร่องค์ความรู้ด้านผู้สูงอายุและการติดตามประเมินผล
มาตราการ 1 สนับสนุนและส่งเสริมให้หน่วยงานวิจัยพัฒนาองค์ความรู้ด้านผู้สูงอายุ พัฒนาการบริหารหรือการดำเนินการที่เป็นประโยชน์แก่ผู้สูงอายุ
มาตราการ 2 สนับสนุนและส่งเสริมการศึกษาวิจัยด้านผู้สูงอายุสามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมอย่างเหมาะสม
มาตราการ 3 ดำเนินการให้มีการติดตามประเมินผลการดำเนินการแผนผู้สูงอายุ
ยุทธศาสตร์ที่ 1 การเตรียมความพร้อมของประชากรเพื่อวัยสูงอายุที่มีคุณภาพ
มาตราการ 1 หลักประกันด้านรายได้เพื่อผู้สูงอายุ
มาตราการ 2 การให้การศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต
มาตราการ 3 การปลุกจิตสำนึกให้คนในสังคมตระหนักถึงคุณค่าและศักดิ์ศรีผู้สูงอายุ
ปฏิญญาผู้สูงอายุไทย
1.ผู้สูงอายุต้องได้รับปัจจัยพื้นฐานในการดำเนินชีวิตอย่างมีคุณค่าและศักดิ์ศรี
2.ผู้สูงอายุควรอยู่กับครอบครัว
3.ผู้สูงอายุควรได้รับโอกาสในการเรียนรู้
4.ผู้สูงอายุควรได้ถ่ายทอดความรู้ประสบการณ์ให้สังคม
5.ผู้สูงอายุควรได้เรียนรู้ในการดูแลสุขภาพอนามัยของตนเอง
6.ผู้สูงอายุเป็นแหล่งภูมิปัญญาของคนรุ่นหลัง มีการเข้าสังคม มีนันทนาการ
7.รัฐต้องกำหนดนโยบายและ แผนหลักด้านผู้สูงอายุส่งเสริมและประสานให้หน่วยงานดำเนินการอย่างต่อเนื่องให้บรรลุผลตามเป้าหมาย
8.รัฐต้องตรากฏหมายว่าด้วยผู้สูงอายุ เพื่อเป็นหลักประกันและเป็นการบังคับใช้ในการพิทักษ์สิทธิ คุ้มครองสวัสดิการ
9.รณรงค์ปลูกฝัง ค่านิยมให้สังคมตระหนักถึงคุณค่าของผู้สูงอายุตามวัฒนธรรมไทยเน้นความกตัญญูกตเวที
สิทธิของผู้สูงอายุตามหลักการขององค์การสหประชาชาต
การมีอิสระภาพในการพึ่งตนเอง
การมีส่วนร่วม
การอุปการะเลี้ยงดู
การบรรลุความต้องการ
ความมีศักดิ์ศรี
กฎหมาย นโยบายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเตรียมความพร้อมของประชากรในการเข้าสู่วัยสูงอายุอย่างมีคุณภาพ
พระราชบัญญัติกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ พ.ศ.2539
พระราชบัญญัติการออมแห่งชาติ ( กอช.) พ.ศ.2554
พระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ.2533
กองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ ( Retirement Mutual Fund ; RMF) พ.ศ.2544
พระราชบัญญัติกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ พ.ศ.2530
กองทุนรวมหุ้นระยะยาว (Long Term Equity Fund : LTF)
พระราชบัญญัติข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2471
ปัญหาจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลผู้สูงอายุ
ประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับผู้สูงอายุ
พินัยกรรม
พินัยกรรมแบบเขียนเองทั้งฉบับ
ผู้ทำพินัยกรรมต้องเขียนด้วยลายมือตนเองทั้งฉบับ ไม่ต้องมีพยานรับรอง
พินัยกรรมแบบธรรมดา
ต้องทำเป็นหนังสือ มีการลงลสยมือผู้ทำพินัยกรรม พยาน 2 คน
พินัยกรรมแบบเอกสารฝ่ายเมือง
ผู้ทำพินัยกรรมต้องไปทำที่อำเภอแจ้งความประสงค์ว่าตนต้องการยกทรัพย์สินให้แก่ใคร
พินัยกรรมแบบเอกสารลับ
ผู้ทำพินัยกรรมต้องลงลายมือชื่อในพินัยกรรมบรรจุไว้ในซองและคาบรอยพลึกบนซอง และเก็บเอกสารไว้ที่อำเภอ
พินัยกรรมแบบวาจา
มักทำเมื่อไม่สามารถทำพินัยกรรมแบบอื่นได้ มีพยาน 2 คน และพยานแจ้งความประสงค์ของผู้ทำพินัยกรรมต่อนายอำเภอ
การพยาบาลผู้ป่วยระยะสุดท้าย
ต้องมีเทคนิคในการสนทนาอย่างรอบคอบในการบอกข้อมูลแก่ผู้ป่วยสูงอายุ
แนะนำให้เตรียมพินัยกรรม
ได้รับการดูแลรักษาเพื่อบรรเทาความเจ็บปวดทรมานอย่างเต็มที่
เมตตามรณะ (Euthanasia)
การให้ผู้ป่วยสิ้นหวังที่ทนทุกข์ทรมานจากโรคที่รักษาไม่หายได้ตายลงโดยไม่เจ็บปวด 2 ประเภท
Active การที่แพทย์ฉีดยา ให้ยา
Passive ปล่อยให้ผู้ป่วยสิ้นหวังตายโดยไม่ให้รักษา
การทำทารุณกรรมในผู้สูงอายุ
ความหมายของการทารุณกรรม
มี 2 ประเภท
การทารุณกรรมทางร่างกาย (Physical abuse) หมายถึง การบาดเจ็บหรือความเจ็บปวดทางร่างกาย
การทารุณกรรมทางจิตใจ (Phychological abuse) หมายถึง สร้างความเสียหายให้ได้รับความปวดร้าว เจ็บปวด และความทุกข์เกิดขึ้น
สาเหตุของการทารุณกรรม
แบ่งได้ 2 สถานที่ใหญ่คือ การทารุณกรรมในบ้านและการทารุณกรรมในสถานบริกาน ดังนี้
การทารุณกรรมในสถานบริการ
บุครากรมีภาวะเครียดจากสถาณการณ์การทำงาน
บุคลากรมีภาวะเหนื่อยล้าจากการทำงาน
ผู้ป่วยมีอาการก้าวร้าว
บุคลากรมีทัศนคติที่ไม่ดีต่อผู้สูงอายุ
การทารุณกรรมในบ้าน
ภาวะเครียดจากสถาณการณ์การดูแล
ผู้ดูแลไม่พอใจที่ผู้ป่วยเป็นภาระ
ปัญหาในครอบครัว
ไม่มีเงินจ่ายสำหรับสิ่งของจำเป็น
มีประวัติการทารุณกรรมในครอบครัว
ปัญหาสัมพันธภาพระหว่างผู้ดูแลและผู้สูงอายุ
ผู้กระทำทารุณกรรม มีปัญหาพฤติกรรมส่วนตัว
ปัจจัยเสี่ยงทำให้เกิดการทารุณกรรมในผู้สูงอายุ
ผู้สูงอายุ
สูยเสียหน้าที่ของร่างกาย มีปัยหาในการดื่มสุรา เคยมีประวัติการทารุณกรรม
ผู้ดูแล
มักพบภาวะเสี่ยงในผู้ดูแลที่มีภาวะติดยา มีอาการป่วยทางจิต
สิ่งแวดล้อม
ครอบครัวมีปัญหาจากการสมรส อคติต่อการสูงอายุ ส่งผลทำให้เกิดทารุณกรรมขึ้นได้
ประเภทของการทารุณกรรม
การทารุณกรรมทางเพศ ( Sexual abuse )
การแตะต้องตัวโดยไม่ได้รับความยินยอม
การใช้ประโยชน์จากการที่ผู้ถูกกระทำมีปัญหาเจ็บป่วยทางร่างกายหรือมีอาการทางจิต
การลวนลามทางเพศ
การทารุณกรรมทางจิตใจ ( Emotional abuse )
การด่าทอ การดูถูกดูหมิ่น และการคุกคาม
การข่มขู่ การทำให้อับอาย และการล่วงละเมิดหรือการรังควาน
การกีดกันผู้สูงอายุทั้งทางร่างกายและสังคม ออกจากครอบครัว เพื่อน หรือกิจกรรมที่กระทำเป็นประจำ
ห้ามผู้สูงอายุไม่ให้พูด
การทารุณกรรมทางร่างกาย ( Physical abuse )
การจู่โจมเข้าทำร้าย ( Striking ) ด้วยอาวุธหรือไม่มีก้ได้
การชกต่อย การทุบตี การผลัก การเขย่า การตบ และการทำให้บาดเจ็บจากการใช้ความร้อน
ให้ยาโดยไม่มีเหตุผลอันสมควร
ทำโทษทางร่างกาย
การทอดทิ้ง ( Neglect )
ไม่ให้สิ่งที่จำเป็นในชีวิต เช่น อาหาร น้ำ เสื้อผ้า หรือที่พักอาศัย
ไม่ดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล ยารักษาโรค ความสะดวกสบายความปลอดภัยส่วนบุคคล
การละทิ้ง ( Abandonment)
การละทิ้งหน้าที่ต่อผู้สูงอายุที่ตนรับผิดชอบในการให้การดูแลหรือผู้สูงอายุที่อยู่ในความดูแล
การแสวงหาผลประโยชน์ทางด้านการเงิน ( Financial exploitation)
แสวงหาผลประโยชน์ทางด้านการเงิน
บังคับให้เซนชื่อ
ใช้เงินผิดประเภทหรือขโมยเงินหรือสมบัติของผู้สูงอายุ
ขู่เข็ญหรือหลอกลวงผู้สูงอายุให้เซ็นเอกสาร
การประเมินภาวะทารุณกรรม
ใช้คำถามต่อไปนี้เพื่อคัดกรองภาวะทารุณกรรมกับผู้ป่วย
มีใครทำให้คุณได้รับบาทเจ็บไหม ?
มีใครบางคนทำกับคุณใช่ไหม ?
มีใครเคยแตะต้องคุณโดยไม่ยินยอมไหม ?
คำถามเพื่อระบุแนวโน้มการละเลยไม่เอาใจใส่และการทารุณกรรมทางการเงิน
คุณพึงพอใจกับสถาณการณ์ความเป็นอยู่ไหม ?
คุณรู้สึกปลอดภัยในสถานที่อยู่อาสัยในปัจจุบันไหม ?
คำถามผู้ป่วยและผู้ดูแลแต่ละคนเพื่อประเมินการได้รับบาดเจ็บ
เหตุเกิดขึ้นเมื่อไหร่ ?
เหตุการณ์เกิดขึ้นได้อย่างไร ?
เหตุการณ์เหล่านี้เกิดขึ้นบ่อยมากน้อยแค่ไหน ?
การบริการและการให้การช่วยเหลือในประเทศไทย
ศูนย์ประชาบดีและศูนย์ช่วยเหลือสังคม สายด่วน 1300
ศูนย์เฝ้าระวังและเตือนภัยทางสังคม
กรรมกิจการผู้สูงอายุ รับเรื่องร้องเรียน
ศูนย์พัมนาการจัดสวัสดิการสังคมผู้สูงอายุ
สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
สายด่วนกรมสุขภาพจิต
หน่วยงานเอกชนอื่นๆ เช่น สภาสังคมสงเตราะห์แห่งประเทศ
การป้องกันการทารุณกรรม
การป้องกันการทารุณกรรมตามแนวคิดของ Bunmhover and beall
การป้องกันปฐมภูมิ
การป้องกันทุติยภูมิ
การป้องกันการทารุณกรรมในผู้สูงอายุ
การป้องกันแบบถ้วนหน้า
การคัดเลือกวิธีการป้องกัน
ระบุวิธีการป้องกัน
กลยุทธ์การป้องกัน
การพยาบาลและองค์ประกอบทางจริยธรรมในการช่วยเหลือผู้สูงอายุ
องค์ประกอบพื้นฐานทางจริยธรรม
ให้ความเคารพยกย่อง
ยอมรับความสูงอายุว่าเป็นการเปลี่ยนแปลงตามวงจรชีวิตมนุษย์
ส่งเสริมให้ผู้สูงอายุ คงความสามารถในการทำฟน้าที่ของร่างกายและดูแลตนเอง
ปฏิบัติการพยาบาลต่อผู้สูงอายุอย่างเท่าเทียม
ปฏิบัติการพยาบาลโดยใช้หลัก เมตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา
ศึกษาหาความรู้ เพื่อให้มีความรู้ในการดูแลและให้คำแนะนำผู้สูงอายุ
รักและศรัทธาในวิชาชีพ
นางสาวเมธาวดี ลาสอน 621201147