Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 2 หน้าที่พลเมือง - Coggle Diagram
หน่วยที่ 2 หน้าที่พลเมือง
บทที่ 1 สิทธิเด็ก
1.การละเมิดสิทธิเด็ก
สิทธิพื้นฐาน 4 ประการ
1.สิทธิในการมีชีวิตรอด
2.สิทธิที่จะได้รับการปกป้อง
3.สิทธิที่จะได้รับการพัฒนา
4.สิทธิที่จะมีส่วนร่วม
การละเมิดสิทธิเด็ก
ด้านความเป็นอยู่และได้รับการพัฒนา
ด้านการรับการศึกษา
ด้านการจ้างแรงงานเด็ก
ด้านใช้เด็กเป็นเครื่องมือกระทำผิด
ด้านการถูกทำร้าย ถูกทารุณ กักขัง
ด้านการห้ามเด็กไม่ให้มีส่วนร่วม
2.แนวทางการปกป้องคุ้มครองตนเองหรือผู้อื่นจากการละเมิดสิทธิเด็ก
3.การปกป้องคุ้มครองสิทธิเด็กในสังคมไทย
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
สถาบันครอบครัว สถาบันการศึกษาและสถาบันทางศาสนา
หน่วยงานของรัฐ คือ กรมกิจการเด็กและเยาวชน กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
หน่วยงานของรัฐที่มีหน้าที่ออกกฏหมายคุ้มครองเด็ก
หน่วยงานที่เป็นองค์กรเอกชน เช่น องค์การยูนิเซฟ มูลนิธิศูนย์พิทักษ์สิทธิเด็ก
บทที่ 2 พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
1.การปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดี
1.การปฏิบัติตนตามสถานภาพ
สถานภาพโดยกำเนิด
ทางเพศ
ทางครอบครัว
ทางเชื้อชาติ
สถานภาพที่ได้มาภายหลัง
ทางการศึกษา
ทางการสมรส
ทางอาชีพ
2.การปฏิบัติตนตามบทบาทและหน้าที่
เคารพเทิดทูนชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
ปฏิบัติตามกฏหมาย
เข้ารับการศึกษาภาคบังคับ
ไปใช้สิทธิเลือกตั้ง
เสียภาษีอากร
อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
สืบสานศิลปวัฒนธรรมชาติ
3.การปฏิบัติตนตามสิทธิและเสรีภาพ
สิทธิของบุคคล
ในทรัพย์สินของตน
ในชีวิตและร่างกาย
ในการรับบริการด้านสาธารณสุข
ได้รับความคุ้มครองตามกฏหมาย
ความเป็นอยู่ส่วนตัว
รับรู้ข้อมูลข่าวสารของราชการ
ความคุ้มครองด้านการบริโภค
เสนอเรื่องราวร้องทุกข์
มีส่วนร่วมบำรุงรักษาและได้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ
เสรีภาพของบุคคล
ในเคหสถาน
ในการเดินทาง ในการเลือกถิ่นที่อยู่
ในการสื่อสารถึงกันโดยชอบด้วยกฏหมาย
ในการนับถือศาสนา
ในการประกอบอาชีพ
ในการแสดงความคิดเห็น การพูด การเขียน
ในการชุมนุมโดยสงบและปราศจากอาวุธ
ในการรวมกันเป็นสมาคมสหกรณ์
ในการรวมกันจัดตั้งพรรคการเมือง
2.คุณลักษณะของพลเมืองดี
1.เคารพในสิทธิและเสรีภาพของผู้อื่น
2.มีคุณธรรมและความรับผิดชอบ
3.มีค่านิยมประชาธิปไตย
4.มีระเบียบวินัย ประพฤติตามหน้าที่ กฏระเบียบ
5.มีความรัก ความสามัคคี ร่วมพัฒนาท้องถิ่น
6.มีความซื่อสัตย์ ไม่คดโกง
7.เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตัว
8.มุมานะทำประโยชน์เพื่อส่วนรวม
9.เสียสละแรงกาย ทรัพย์สิน และเวลา เพื่อส่วนรวม
บทที่ 3 วัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น
1.วัฒนธรรมไทย
1.ความหมายของวัฒนธรรมไทย
2.ประเภทของวัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมทางภาษา
วัฒนธรรมทางวัตถุ
วัฒนธรรมทางจิตใจ
วัฒนธรรมทางขนบธรรมเนียมประเพณี
3.วัฒนธรรมไทยที่มีผลต่อการดำเนินชีวิต
1.พระพุทธศาสนา
2.ภาษาไทย
3.มรรยาทไทย
4.อาชีพเกษตรกรรม
ศิลปกรรมแขนงต่างๆ
4.คุณค่าและความสำคัญของวัฒนธรรมไทย
เป็นประโยชน์ต่อการดำรงชีวิต
เป็นเป้าหมายสำคัญในการดำรงชีวิต
เป็นสิ่งที่กำหนดพฤติกรรม
เป็นสิ่งที่ใช้ควบคุมสังคม
เป็นสิ่งตอบสนองความต้องการด้านร่างกายและจิตใจ
ช่วยหล่อหลอมบุคลิกภาพให้สมาชิกของสังคม
ก่อให้เกิดความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
5.การอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย
1.ศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรมไทย
2.ร่วมกันดูแลโบราณสถาน โบราณวัตถุ
3.เข้าร่วมกิจกรรมที่เกี่ยวกับวัฒนธรรมไทย
4.ปฏิบัติตามขนบธรรมเนียมประเพณีไทย
5.รักษาขนบธรรมเนียมประเพณีไทย
6.ร่วมมือกันเผยแพร่ขนบธรรมเนียมประเพณีไทย
2.ภูมิปัญญาท้องถิ่น
1.ความหมาย
2.ประเภท
คติความเชื่อพิธีกรรมต่างๆ
ศิลปวัฒนธรรมประเพณี
อาชีพและการพัฒนา
เทคโนโลยี
3.ความสำคัญ
1.นำมาประยุกต์ใช้กับปัจจัยพื้นฐานในการดำรงชีวิต
2.ส่งเสริมการประกอบอาชีพ
3.ส่งเสริมสุขภาพจิตที่ดี
4.ส่งเสริมรายได้เข้าสู่ท้องถิ่นและประเทศ
4.ตัวอย่าง
การแปรรูปผลผลิต
การประดิษฐ์สิ่งของเครื่องใช้
ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น
คติ ความเชื่อ พิธีกรรมต่างๆ
5.การอนุรักษ์และเผยแพร่
สร้างความตะหนักให้บุคคลในท้องถิ่นเห็นคุณค่า
สร้างความรู้ความเข้าใจ
เน้นให้ทุกฝ่ายมีส่วนร่วม
ส่งเสริมสนับสนุนให้มีการถ่ายทอดความรู้
บทที่ 4 การปกครองส่วนท้องถิ่น
1.การปกครองส่วนท้องถิ่น
1.ความหมายและความสำคัญ
เป็นรากฐานของการปกครองระบอบประชาธิปไตย
เป็นกลไกที่สำคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
ส่งเสริม สนับสนุนให้การบริการสนองความต้องการประชาชน
ช่วยแบ่งเบาภารกิจของรัฐบาลส่วนกลางให้ลดน้อยลง
2.โครงสร้างการปกครองส่วนท้องถิ่นและอำนาจหน้าที่
องค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.)
สภา อบจ.
นายก อบจ.
เทศบาล
สภาเทศบาล
นายกเทศมนตรี
องค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.)
สภา อบต.
นายก อบต.
การปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ
กรุงเทพมหานคร
สภากรุงเทพ
ผู้ว่าราชการกรุงเทพ
เมืองพัทยา
สภาเมืองพัทยา
นายกเมืองพัทยา
2.บทบาทและหน้าที่ของผู้บริหารท้องถิ่น
นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด
ผู้ว่าราชการจังหวัด
นายกเทศมนตรี
นายกองค์การบริหารส่วนตำบล
ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร
นายกเมืองพัทยา
3.องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับบริการสาธารณประโยชน์