Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบประสาท (The Nervous System) - Coggle Diagram
ระบบประสาท (The Nervous System)
การจําแนกระบบประสาท
จำเเนกตามลักษณะทางกายวิภาคเเบ่งได้ 2 ส่วน คือ
ระบบประสาทส่วนกลาง
(Central nervous system, CNS)
ประกอบด้วยสมอง(Brain)และไขสันหลัง(Spinalcord)
ระบบประสาทส่วนปลาย
(Peripheral nervous system, PNS)
ประกอบด้วย เส้นประสาทสมอง (Cranial nerve)
เส้นประสาทไขสันหลัง (Spinalnerve)
ปมประสําท (Ganglia)
จําแนกตามลักษณะหน้าที่
ระบบประสาทกาย(Somatic nerve system)
ควบคุมกล้ามเนื้อลาย
ระบบประสาทอัตโนมัติ (Autonomic nervous system)
ควบคุมกล้ามเนื้อเรียบ กล้ามเนื้อหัวใจ
เนื้อเยื่อประสาท (Nervous tissue)
เซลล์ประสาท (nerve cell or neuron)
ตัวเซลล์
ประกอบด้วย cell body, soma
แขนงของเซลล์ประสาท
ประกอบด้วย เดนไดรต์ เเอกซอน
เซลล์คําจุ้น (Supporting cell)
Neuroglia หรือ glial cell
CNS: Astrocyte, Oligodendrocytes,
Microglia (ส่วนกลาง)
PNS :Schwann cell ส่วนปลาย
เซลล์ประสาท (Nerve cell or neuron)
ตัวเซลล์ประสาท (CellbodyหรือSoma)
ทำหน้าที่สร้างพลังงาน สังเคราะห์โปรตีน เป็นสารสื่อประสาทและทําหน้าที่ควบคุมการเจริญเติบโตและกระบวนการเมแทบอลซึม(Metabolism)ของเซลล์ประสาท
แขนงของเซลล์ประสาท (Protoplasmic processes)
Dendrite
ทําหน้าที่รับข้อมูลการกระตุ้นหรือยับยั้งจากปลายประสาทหรือส่ิงกระตุ้นจากพลังงานรูปเเบบต่างๆ
Axon
ทําหน้าที่ส่งข้อมูลในรูปของคลื่นประสาทส่งไปต่อโยงกับ เซลล์เป้าหมาย
ปลอกประสาท (Myelin sheath :
ลักษณะจะหุ้มอยู่ตลอดตามความยาวของAxon
จะช่วยให้การส่งกระเเสประสาทเร็วขึ้น
ประกอบด้วย
Neuron component
Inside the Myeli Sheath
Nerve Function
เซลล์คําจุ้น (Supporting cell)
มีหน้าที่สร้างความเเข็งเเรง เเละช่วยในการเจริญเติบโต
CNS
Astrocyte
รูปร่างคล้ายปลาดาว
Microglia
ทำหน้าที่เก็บกินสิ่งเเปลกปลอม
Ependymal cell
สร้างน้ำไปหล่อเลี้ยงสมอง และ ไขสันหลัง
Oligodendrocytes
สร้างไมอิลินในระบบประสาทส่วนกลาง
PNS
Schwann cell
ระบบประสาทส่วนปลาย
ชนิดของเซลล์ประสาท
จําแนกตามหน้าที่การทำงาน
เซลล์ประสาทสั่งการ (Motor neuron)
ส่งจากเซลล์ประสาทส่วนกลางไปส่วนปลาย
เซลล์ประสาทรับความรู้สึก (Sensory neuron)
นำข้อมูลจากภายนอกเซลล์ไปอยู่ในเซลล์เพื่อรับความรู้สึก
เซลล์ประสาทประสานงาน
(Assosiation neuron or interneuron)
ตัวกลางในการรับความรู้สึก ระหว่างสมองเเละไขสันหลัง
การจำเเนกชนิดของเซลล์ประสาท
(classification of neurons)
เเบ่งได้ 3 ชนิด
Multipolar neuron
เซลล์ประสาทหลายขั้ว
Bipolar neuron
มีไพรเซท 2 อัน อยู่ในเซลล์บอดี้
Unipolar neuron
เซลล์เเตกเเขนงเดียวออกมา
บริเวณประสานประสาท ตัวรับและสารสื่อประสาท
Presynaptic element
Synaptic cleft
Postsynaptic element
สํารสื่อประสาท (Neurotransmitter)
คือสารเคมีท่ีถูกสังเคราะห์ขึ้นในเซลล์ประสาทและเก็บไว้ในถุงหุ้ม
ระบบประสาทส่วนกลาง (Central nervous system)
เยื่อหุ้มสมองและไขสันหลัง (Meninges)
เยื่อหุ้มสมองช้ันนอก(Duramater)
Falx cerebri
เเผ่นกั้นสมองใกล้ซีรีบรัม
Falx cerebelli
จะกั้นสมองน้อย2ซีก
Tentorium cerebelii
จะกั้นสมองใหญ่เเละสมองน้อย
เยื่อหุ้มสมองช้ันกลาง(Arachoidmater)
เยื่อหุ้มสมองช้ันใน(Piamater)
สมอง เเบ่งเป็น 3 ส่วนใหญ่ๆคือ
สมองส่วนหน้า
ออลเฟกทอรีบัลบ์ (olfactory bulb)
ซีรีบรัม (Cerebrum)
ทาลามัส (Thalamus)
ไฮโปทาลามัส (Hypothalamus)
สมองส่วนกลาง
สมองส่วนท้าย
พอนส์ (Pons)
เมดัลลา(Medulla)
ซีรีเบลลัม (Cerebellum)
เเบ่งตามโครงสร้าง ได้ 4 ส่วน
เปลือกสมองใหญ่(Cerebrum)
Diencephalonประกอบด้วย thalamus, hypothalamus และ epithalamus
ก้านสมอง(Brainstem) ประกอบด้วย midbrain, pons และ medulla
สมองเล็ก (cerebellum)
ช่องว่างภายในสมอง (Ventricles) เเบ่งเป็น 4 ช่อง ได้เเก่
Lateral ventricle
Third ventricle
Cerebral aqueduct
Fourth ventricle
น้ำหล่อเลี้ยงสมองและไขสันหลัง (Cerebrospinal fluid. CSF)
ป้องกันการสะเทือนให้แก่สมองและไขสันหลัง
นําอาหารไปเลี้ยงสมองและไขสันหลัง
สมองใหญ่ (Cerebrum หรือ Cerebral cortex)
Fussuer ร่องเเบ่งซีซ้าย ขวา
รอยนูนเรียกว่า gyrus
ร่องเรียกว่า sulcus (ร่องตื้น ) หรือ
fissure(ร่องตื้น)
Cerebral hemisphere แบ่งออกเป็น 5 พู (lobe)
เส้นสมมติที่สำคัญช่วยในการแบ่งcerebrumออกเป็นlobe
Parito-occipital sulcus
Transverse fissure
Lateral cerebral fissures
Central sulcus
Frontal lobe
ควบคุมเกี่ยวการเคลื่อนไหว
Parietal lobe
ควบคุมเกี่ยวกับความรู้สึก
Occipital lobe
ทำหน้าที่เกี่การรับภาพ
Temporal lobe
ทำหน้าที่เกี่ยวข้องกับการได้ยิน
Insular lobe
ทำหน้าที่เกี่การรับรส
กลุ่มเซลล์ประสาทช้ันลึกของสมอง (Basal ganglia)
ควบคุมการเคลื่อนไหวแบบอัตโนมัติ
ควบคุมความตึงตัวของกล้ามเนื้อ
Clinical correlation
มีความสัมพัเกี่ยวกับโรคพาร์กินสัน
Diencephalon
Thalamus
รับข้อมูลเกือบทั้งหมดที่เกี่ยวกับ sensory, motorและlimbicsyetemส่งไปยัง Cerebral cortex
Hypothalamus
ควบคุมโครงสร้างต่างๆของร่างกาย เช่นการเต้นของหัวใจ ความดันเลือด การหายใจ
Epithalamus
เกี่ยวข้องกับการหลั่ง melatonin การหลับ-ตื่น
Subthalamus
ทํางํานร่วมกับ basal ganglia และ สมองเล็กในการควบคุมการเคลื่อนไหวของร่างกาย
ก้านสมอง (Brainstem) ประกอบด้วย 3 ส่วนได้เเก่
Midbrain
ทางด้านหน้าพบเส้นใยประสาทมีลักษณะเรียกว่า cerebralpeduncle
Pons
มีตำแหน่งอยู่ระะหว่าง midbrain กับ medulla oblongata
Medulla Oblongata
อยู่ระหว่างขอบล่างของ pons กับ spinal cord
สมองเล็ก (Cerebellum)
ทำหน้าที่เกี่ยวกัยสมดุลต่างๆของร่างกาย
ระบบประสาทลิมบิก (Limbic system)
Amygdala
ทําหน้าที่เกี่ยวกับ อารมณ์ ความกลัว
Hippocampus
ทำหน้าที่เกี่ยวกับความจำ
ไขสันหลัง (SpinalCord)
อยู่ต่อจากก้านสมองส่วน medulla oblongata)
เริ่มจาก foramen magnum ไปสิ้นสุดท่ี L2-L3
ปลายด้านล่างเรียวแหลม เรียก “Conus medullaris”
กล่มุ เส้นประสาทคล้ายหางม้าเรียก “cauda equina”
FilumterminaleยึดConus medullarisไว้กับกระดูกก้นกบ
หลอดเลือดที่นำมาเลี้ยงไขสันหลัง
รับเลือดจากแขนงของvertebral artery ซึ่งมเลี้ยงไขสันหลังใน cervical segment
ไขสันหลังในcervicalsegment ส่วนล่างไปจนถึงระดับcoccyx จะ ได้รับเลือดจากsegmentalartery
ให้แขนงย่อยไปเลี้ยงไขสันหลังคือanteriorradiculararteryและ posterior radicular artery