Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
A Beautiful mild, Hallucination - Coggle Diagram
A Beautiful mild
-
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
-
-
-
-
-
-
-
-
การพยาบาลแบบองค์รวม
ทักษะในการดูแลตนเอง
ฝึกทักษะในการดูแลตนเอง โดยให้ฝึกปฏิบัติกิจวัตรประจำวันต่าง ๆ เช่น รู้จักรักษาความสะอาดของร่างกายตั้งแต่ศีรษะถึงปลายเท้า รับประทานยาด้วยตนเองอย่างถูกต้องทุกมื้อ ขับถ่ายเป็นเวลาและถูกสุขลักษณะ เป็นต้น
-
ทักษะการใช้ชีวิตในชุมชน
ฝึกให้ผู้ป่วยรู้จักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ด้วยการออกกำลังกาย เช่น การเล่นกีฬาในร่ม กีฬากลางแจ้ง การเข้าร่วมกิจกรรมสังสรรค์ การอ่านหนังสือ ฟังวิทยุ ดูโทรทัศน์ การพูดคุยเพื่อผ่อนคลาย เป็นต้น
-
ทักษะทางสังคม
ฝึกให้ผู้ป่วยรู้จักมารยาทของการเข้าสังคมและการอยู่ร่วมกันกับบุคคลอื่นๆ ในสังคม เช่น การมีสัมพันธภาพกับบุคคลอื่น ๆ รู้จักสนใจตนเองสนใจสิ่งแวดล้อม รู้จักใช้ภาษาพูดภาษาท่าทางที่เหมาะสมกับเหตุการณ์ สามารถทำกิจกรรมร่วมกับบุคคลอื่นๆได้อย่างเหมาะสม
ทักษะการทำงาน
ฝึกให้ผู้ป่วยมีความรับผิดชอบในการทำงานหรือทำงานที่ได้รับมอบหมายและมีความร่วมมือในการทำงานกับผู้อื่นให้มีสมาธิ มีความอดทนในการทำงานรู้จักสร้างสัมพันธภาพกับเพื่อนร่วมงานและมีการปรับตัวให้เหมาะสมกับสภาพของงาน เป็นต้น
พระราชบัญญัติ
-
มาตราที่18
การรักษาทางจิตเวชด้วยไฟฟ้าการกระทําต่อสมองหรือระบบประสาทหรือ การบําบัดรักษาด้วยวิธีอื่นใด ที่อาจเป็นผลทําให้ร่างกายไม่อาจกลับคืนสู่สภาพเดิมอย่างถาวรได้
กรณีมีเหตุฉุกเฉินหรือมีความความจําเป็นอย่างยิ่งเพื่อประโยชนของผู้ป่วยหากมิได้บําบัดรักษาจะเป็นอันตรายถึงแกชีวิตของผู้ป่วย
กรณีผู้ป่วยให้ความยินยอมเป็นหนังสือเพื่อการบําบัดรักษา ได้รับทราบเหตุผล ความจําเป็น ความเสี่ยงที่อาจเกิด และประโยชนของการบําบัดรักษา
มาตราที่ 21
การบําบัดรักษาจะกระทําได้ต่อเมื่อผู้ป่วยได้รับการอธิบายเหตุผลความจําเป็น ในการบําบัดรักษารายละเอียดและประโยชน์ของการบําบัดรักษาและได้รับความยินยอมจากผู้ป่วยเว้นแต่เป็นผู้ป่วยตามมาตรา 22 ถ้าต้องรับผู้ป่วยไว้ในสถานพยาบาลของรัฐหรือสถานบําบัดรักษา ความยินยอมตามวรรคหนึ่ง ต้องทําเป็นหนังสือและลงลายมืชื่อผู้ป่วยเป็นสําคัญ ในกรณีที่ผู้ป่วยมีอายุไมถึงสิบแปดปีบริบูรณ์ หรือขาดความสามารถในการตัดสินใจให้ความยินยอมรับการบําบัดรักษา ให้คู่สมรส ผู้บุพการี ผู้สืบสันดาน ผู้ปกครอง ผู้พิทักษ์ ผู้อนุบาล หรือผู้ซึ่งปกครองดูแลบุคคลนั้น แล้วแต่กรณีเป็นผู้ให้ความยินยอมตามวรรคสองแทน หนังสือให้ความยินยอมตามวรรคสองและวรรคสาม ให้เป็นไปตามแบบที่คณะกรรมการกำหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา
-
มาตราที่ 23
ผู้ใดพบบุคคลซึ่งมีพฤติการณ์อันน่าเชื่อว่าบุคคลนั้นมีลักษณะตามมาตรา 22 ให้แจ้งเจ้าหน้าที่ แจ้งพนักงานเจ้าหน้าที่ เช่น แพทย์ พยาบาล เจ้าหน้าที่สาธารณสุข
-
มาตราที่ 25
เมื่อผู้รับผิดชอบดูแลสถานที่คุมขังหรือสถาน สงเคราะห์ หรือพนักงานคุมประพฤติ พบบุคคลที่อยู่ในความดูแลรับผิดชอบตามอำนาจหน้าที่ มีพฤติการณ์อันน่าเชื่อว่าบุคคลนั้นมีลักษณะ ตามมาตรา 22 ให้ดำเนินการส่งตัวบุคคลนั้นไปยังสถานพยาบาลของรัฐ หรือสถานบำบัดรักษาซึ่งอยู่ใกล้โดยไม่ชักช้าเพื่อรับการตรวจวินิจฉัยและประเมินอาการเบื้องต้นตามมาตรา 27
ส่งรักษาในสถานบำบัด (โรงพยาบาลจิตเวช) เมื่อผู้ป่วยจำเป็นต้องได้รับกรตรวจวินิจฉัย และการประเมินอาการโดยละเอียดภายใน 30 วันหลังรับไว้
-
มาตราที่ 24
เมื่อพนักงานเจ้าหน้าที่ พนักงานฝ่ายปกครองหรือ ตำรวจได้รับแจ้งตามมาตรา 23 หรือพบบุคคลซึ่งมีพฤติการณ์อันน่าเชื่อ ว่าบุคคลนั้นมีลักษณะตามมาตรา 22 ให้ดำเนินการนำตัวบุคคลนั้นไปยังสถานพยาบาลของรัฐหรือสถานบำบัดรักษาซึ่งอยู่ใกล้โดยไม่ชักช้า เพื่อรับการตรวจวินิจฉัยและประเมินอาการเบื้องต้นตามมาตรา 27 ทั้งนี้ โดยจะมีผู้รับดูแลบุคคลดังกล่าวไปด้วยหรือไม่ก็ได้
-
-
การวินิจตาม DSM-5
C. มีอาการโรคจิตต่อเนื่องกันนาน 6 เดือนขึ้นไป โดยอย่างน้อยต้องมีช่วงที่มีอาการตรงตามเกณฑ์ข้อ A อย่างน้อย 1 เดือน
B. ระดับความสามารถในด้านสำคัญ ๆ เช่น ด้านการทำงาน การมีสัมพันธภาพกับผู้อื่น หรือการดูแลตนเองลดลงไปจากเดิมอย่างชัดเจนอย่างน้อยหนึ่งด้าน
-
-
-
-
ข้อมูลส่วนบุคคล
-
-
ชื่อผู้ป่วย นายจอห์น ฟอบส์ แนช จูเนียร์ (Mr. John Forbes Nash, Jr.)
-
-
พัฒนาการตามช่วงวัย
วัยรุ่น
เริ่มมีบุคลิกที่ดูแตกต่างจากผู้อื่นและยังคงเป็นคน
เก็บตัวและไม่มีเพื่อนสนิทเขาเริ่มมีความคิดว่านักคณิตศาสตร์มีความสำคัญต่ออนาคตของอเมริกา
มีเพื่นร่วมห้องพัก ชื่อนายชาร์ล เริ่มมีความคิดหมกมุ่นและมีพฤติกรรมแปลก ๆ เพิ่มมากขึ้น
วัยผู้ใหญ่
ทำงานทั้งงานที่วีลเลอร์แลปส์และงานสายลับ
นายชาร์ลส์ยังมาปรากฏตัวอยู่กับเขาในหลายสถานการณ์นายชาร์ลส์เป็นเพียงคนเดียวที่ผู้ป่วยสามารถพูดคุยเรื่องราวต่าง ๆ ได้
-
-
-
โรค Schizophrenia
ความหมาย
โรคที่มีความผิดปกติทางด้านอารมณ์ ความคิด การรับรู้ เเละพฤติกรรมเป็นเวลาติดต่อกันอย่างน้อย 6 เดือน โดยไม่มีสาเหตุจากโรคทางกาย ยา หรือสารเสพติด เเละส่งผลกระทบต่อหน้าที่การงาน ด้านสังคม หรือสุขอนามัยของผู้ป่วย
ชนิดของโรค Schizophrenia
Paranoid Type
ความหมกมุ่นอยู่กับอาการหลงผิดหรือหูแว่ว ทั้งนี้ ผู้ป่วยต้องไม่มีอาการของ catatonic หรือ disorganized type
จากกรณีศึกษาผู้ป่วยเป็นชนิด Paranoid type เนื่องจาก มีอาการหวาดระแวง หูแว่วบ่อยครั้ง ทำร้ายตนเองและผู้อื่น พูดไม่รู้เรื่อง อาละวาด โวยวาย ยิ้มหัวเราะคนเดียว
-
Residual Type
ผู้ป่วยเคยป่วยมีอาการกำเริบชัดเจนอย่างน้อย 1 ครั้ง ลักษณะอาการที่มีหลงเหลืออยู่ส่วนใหญ่ เป็นอาการด้านลบ เช่น เก็บตัว เฉื่อยชา ไม่สนใจตัวเอง เป็นต้น
-
-
การรักษา
การรักษาด้วยยา
-
-
ผลข้างเคียงที่พบได้บ่อย
- Extrapyramidal side effects (EPS)
1.1 Acute dystonia ศีรษะและคอบิดเบี้ยว คอแข็ง ขากรรไกรแข็ง ลิ้นแข็ง น้ำลายไหล มักเป็นๆหายๆ มักเกิดขึ้นตั้งแต่ระยะแรกของการได้รับยารักษาอาการทางจิต
1.2 Akathisia กระวนกระวาย ตื่นเต้น อยู่ไม่นิ่ง ผุดลุกผุดนั่ง มักเกิดในช่วง 2-3 สัปดาห์แรกของของการได้รับยา
1.3 Parkinsonism สั่นที่มือ แขนขาลำตัวแข็ง เคลื่อนไหวช้า เกิดในช่วง 4 สัปดาห์แรกของการได้รับยาและสัมพันธ์กับขนาดยาที่ใช้
1.4 Tardive dyskinesia อ่อนเพลีย เคลื่อนไหวช้า ริมฝีปากและลิ้นเคี้ยวปาก เลีย ดูดริมฝีปาก พบในผู้ป่วยที่ได้รับยารักษาอาการทางจิตต่อเนื่องเป็นเวลานาน โดยทั่วไปมักนานเกิน 6 เดือน
- Neuroleptic Malignant Syndrome (NMS) กล้ามเนื้ออุณหภูมิร่างกายสูง หัวใจเต้นผิดจังหวะ BP ต่ำ พบในช่วงแรกของการเริ่มใช้หรือลดขนาดของยา
Thorazine
-
-
ผลข้างเคียง
เมื่อ dopamine receptor ถูกยับยั้งจะทำให้เกิดการหดเกร็งของกล้ามเนื้อ อยู่นิ่งไม่ได้ เคลื่อนไหวดลอดเวลา เดินตัวแข็งทื่อ มือสั่น
การพยาบาล
- สังเกตอาการข้างเคียงของยา เช่น มึนงง ง่วงนอน เป็นลมเวลาลุกยืน ตาพร่า
- ผู้ป่วยที่มีอาการปากแห้ง คอแห้ง แนะนำให้จิบน้ำหรืออมลูกกวาดเพื่อให้ชุ่มคอ
- ผู้ป่วยที่มีอาการง่วงนอน ต้องปรับเวลาให้ยาเป็นตอนเย็น และก่อนนอน ซึ่งช่วยให้ผู้ป่วยนอนหลับได้ดี และกระตุ้นให้ผู้ป่วยทำกิจกรรมต่างๆ ในเวลากลางวัน
- ผู้ป่วยที่มีความต้นโลหิตลดต่ำเวลายืน (orthostatic hypotention) เมื่อลุกขึ้นยืนจะหน้ามืดให้ค่อยๆ เปลี่ยนอิริยาบถ การลุกนั่ง ยืน ควรใช้เวลาอย่างน้อยประมาณ1 นาที
- ผู้ป่วยที่มีอาการตาพร่า แนะนำในใช้แว่นกันแดด เวลาอยู่ในที่มีสว่างมากและบอกสาหตุที่มองเห็นไม่ชัดให้ทราบว่าเกิดจากผลข้างเคียงของยา
Diazepam
-
-
การพยาบาล
- แนะนำให้ผู้ป่วยเลี่ยงกิจกรรมที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ
- ระวังการพลัดตกหกลัม จากการวิงเวียน (Dizziness)
- เขียนวัน เวลา จำนวน ชนิดของยาใส่การ์ด หรือติดไว้ในที่ที่มองเห็นง่าย หากผู้ป่วยต้องเป็นผู้ที่จัดยารับประทานเอง เพราะผู้ป่วยอาจมีอาการหลงลืมง่าย
- ผู้ป่วยที่มีอาการมือสั้น หยิบจับสิ่งของลำบาก ควรดูแลช่วยเหลือในการทำกิจวัตรประจำวัน เลี่ยงการถือของร้อน
- สังเกตและบันทึกความรุนแรงของอาการ
การรักษาด้วยไฟฟ้า
-
-
ผลข้างเคียง
ชักนานเกิน 3 นาที ปวดหัว คลื่นไส้ ปวดกล้ามเนื้อ กระดูกหัก delirium สับสนวุ่นวาย ลืมเหตุการณ์จำวันเวลาสถานที่ ไม่ได้
-
-
บทบาทหน้าที่ของพยาบาล
ก่อนทำ
NPO 4 hr. ก่อนทำให้ผู้ป่วยอาบน้ำสระผมให้แห้ง ให้คำแนะนำแก่ญาติว่าพยาบาลและแพทย์จะดูแลผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด
-
หลังทำ
ให้ผู้ป่วยนอนราบตะแคงหน้าด้านใดด้านหนึ่ง ประเมิน V/S 30-60 นาที ผูกมัดผู้ป่วย เช็ดหน้าด้วยผ้าขนหนูเปียก ให้ความรู้ใหม่เกี่ยวกับวันเวลาสถานที่
การรักษาทางจิตสังคม
-
การบำบัดแบบครอบครัว
เป็นวิธีการที่ให้ผู้ป่วยและสมาชิกในครอบครัวได้มาพูดคุยถึงความคิดความรู้สึก และปรึกษาหาทางออกของปัญหาที่เกิดขึ้นกับตัวผู้ป่วยที่ส่งผลกระทบกับสมาชิกคนอื่น ๆ ในครอบครัวไปด้วย ช่วยทำให้ญาติจัดการกับปัญหาของผู้ป่วย ประสิทธิผลที่ดีทั้งต่อตัว
ผู้ป่วยและบุคคลในครอบครัวในระยะยาวด้วย เพราะนำไปสู่การจัดการปัญหาได้ดีขึ้น มีความรู้สึกเครียดกับความเจ็บป่วยของผู้ป่วยน้อยลง โดยขั้นตอนทั้งหมดจะอยู่ภายใต้การดูแลของนักบำบัดเช่นกัน
วิธีความเห็นอกเห็นใจกันภายในครอบครัวมากยิ่งขึ้น
-
-
-
Hallucination
การพยาบาล
1.รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการประสาทหลอนของผู้ป่วยทุกโอกาส
ที่สามารถจะรวบรวมได้ โดยให้ครอบคลุมเรื่องต่อไปนี้
1.1 เกิดขึ้นอย่างไร เวลาไหน ความถี่ของการเกิด สาเหตุ หรือการกระตุ้น ก่อนเกิดอาการและมีประสาทหลอนทางไหน
1.2 พฤติกรรมตอบสนองต่ออาการประสาทหลอน ประสาทหลอนเฉพาะที่
อาจเป็นอันตรายต่อผู้ป่วยและผู้ป่วยอื่นความสัมพันธ์ของประสาทหลอนกับสถานการณ์หรือบุคคลที่เกี่ยวข้องกับผู้ป่วย รวมทั้งวิธีการต่อสู้ปัญหาของผู้ป่วย
2.ไม่โต้แย้ง ขำหรือเห็นเป็นเรื่องตลก เกี่ยวกับอาการประสาทหลอนที่ผู้ป่วยบอก และบอกถึงสภาพความเป็นจริง (Present reality) ตามความคิดและความรู้สึกของพยาบาล
-
- หลีกเลี่ยงการเกิดภาวะประสาทหลอน
-
-
-
4.4 จัดให้ผู้ป่วยได้รับประสบการณ์ตรงในการเรียนรู้วิธีการเผชิญความวิตกกังวล ขณะที่อยู่ในสถานการณ์นั้น เพื่อป้องกันการเกิดอาการประสาทหลอน โดยการใช้กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์เพื่อการบำบัด
- การสนทนากับผู้ป่วยที่มีอาการประสาทหลอน ควรนำเทคนิคการสนทนา การให้คำปรึกษาต่าง ๆ มาใช้
-
-
อาการ
ประสาทหลอนทางการเห็น (Visual hallucination) ผู้ป่วยมองเห็นภาพต่างๆ โดยที่ไม่เป็นจริง เช่น เห็นคนกำลังมาจะทำร้ายตน
ประสาทหลอนทางการได้ยิน (Auditory hallucination) เช่น ผู้ป่วยได้ยินเสียงคนพูด หัวเราะ หรือด่าตน โดยที่ไม่มีสถานการณ์เหล่านี้เกิดขึ้น
ประสาทหลอนทางการรับกลิ่น (Olfactory hallucination) เช่น ผู้ป่วยได้กลิ่นแปลกๆ โดยที่ผู้อื่นไม่ได้กลิ่นนั้นๆ
ประสาทหลอนทางการสัมผัส (Tactile hallucination) ผู้ป่วยเกิดความรู้สึกเหมือนมีอะไรมาไต่ตอมตามผิวหนัง รู้สึกคันผิวหนัง โดยที่ไม่มีสิ่งเร้าจริง
สาเหตุ
เกิดการเจ็บป่วยทางกาย มีพยาธิสภาพที่สมอง สมองเสื่อมสมรรถภาพ ได้รับอุบติเหตุที่สมอง ภาวะติดเชื้อที่สมอง ไข้สูง ภาวะเจ็บป่วยอย่างรุนแรง การขาดการพักผ่อนนอนหลับ ขาดการกระตุ้นความรู้สึก ภาวะผิดปกติของสารเคมีในร่างกาย การได้รับสารพิษ แอลกอฮอล์ สิ่งเสพติดอื่น ๆ ที่มีผลต่อการการทำงานของระบบประสาท
2.ด้านจิตใจ
บุคคลมีความเครียดทางจิตใจ เกิดความรู้สึกวิตกกังวลมาก รู้สึกถูกทอดทิ้ง ไม่สามารถหาทางออกได้ จึงทำให้การรับรู้ต่อสิ่งแวดล้อมผิดไป
ความหมาย
เป็นความผิดปกติทางการรับรู้ด้วยประสาท สัมผัสทั้ง 5 โดยที่ไม่มีสิ่งเร้ามากระตุ้นจากภายนอก เช่น การเห็น การได้ยิน การได้กลิ่น และการรับรส โดยที่ไม่มีสิ่งเร้าจริงๆ เกิดขึ้น
ความผิดปกติด้านการรับรู้
การแปลผิด (Illusion)
ความผิดปกติของการรับรู้ที่บุคคลตีความหมายหรือแปลความของสิ่งกระตุ้นผิดจากความเป็นจริง เช่น เห็นสายน้ำเกลือเป็นงู ได้ยินเสียงลมเป็นเสียงปีศาจร้องโหยหวน