Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พิษและยาต้านพิษ, นางสาวสุทธิดา สีสงนาง เลขที่ 54 ห้อง A - Coggle Diagram
พิษและยาต้านพิษ
กลไกการเกิดสารพิษจากสารเคมี
การทำปฏิกิริยาเคมีของสารเคมีกับเนื้อเยื่อ เช่น belladonna alkaloids atropine
การรบกวนการทำงานตามปกติของเนื้อเยื่อกั้นประสาท เช่นสาร DTT และสารกลุ่มตัวทำละลายอินทรีย์
การรบกวนการสร้างพลังงานของเซลล์ รบกวนการส่งผ่า O2 ในปฏิกิริยาออกซิเดชันของคาร์โบไฮเดรต เช่น cyanide hydrogen sulfide
การยึดจับโมเลกุลของสารชีวภาพ เช่น ตะกั่ว ปรอท
การรบกวนการรักษาสมดุลของแคลเซียมในเซลล์ ที่ทำให้เซลล์เสียหายและตาย เช่น cyanide peroxides
การทำให้เซลล์บางชนิดตาย เกิดความผิดปกติของเซลล์ เช่น Mg ทำลายเซลล์บางชนิดตาย
การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมของเซลล์เนื้อเยื่อโดยไม่ทำให้เซลล์ตาย นำไปสู่การเป็นมะเร็ง
ความสัมพันธ์ของกระบวนการที่เกิดขึ้นหลังจากสารเคมีเข้าสู่ร่างกาย
กระบวนการดูดซึม
ช่องทางการดูดซึมหลักมี 3 ช่องทาง คือ ทางการหายใจ ทางผิวหนัง ทางการกิน
กระบวนการกระจายตัว
โดยทางกระแสเลือด จับโมเลกุลของโปรตีนในกระแสเลือด / ผ่าน Blood Brain Barrier เข้าไปในสมอง / บางชนิดสามารถผ่านรกและพบในน้ำนมได้
กระบวนการเก็บสะสม
จะเก็บไว้ที่กระดูก เช่นโลหะหนัก / เก็บไว้ที่ไขมัน เช่นแอลกอฮอล์ / เก็บไว้ที่กล้ามเนื้อ เช่น สารฆ่าแมลง
กระบวนการเปลี่ยนรูป
สารเคมีบางตัวอาจถูกเปลี่ยนรูปไปเป็นสารชนิดอื่น โดยผ่านการ Metabolism
เมื่อถึงอวัยวะเป้าหมาย
ก่อผลกระทบสารเคมีแต่ละชนิดก็มีอวัยวะเป้าหมายตกต่างกันไป และเกิดดลไกการออกฤทธิ์แบบต่างๆ
การขับออก
เป็นขั้นตอนสุดท้ายในระบวนการ สารเคมีอาจออกจากร่างกายในรูปแบบเดิม หรือในรูปเมตาโบไลต์ที่เปลี่ยนแปลงแล้วก็ได้ ช่องทางในการขับออกมีหลายช่องทาง ได้แก่ ทางเหงื่อ ทางลมหายใจออก ทางปัสสาวะ ทางน้ำดี (อุจจาระ)
หลักสำคัญในการรักษาผู้ป่วยที่ได้รับสารพิษ
:
การช่วยชีวิตเบื้องต้น (Basic life support)
เน้นการช่วยระบบหายใจและระบบไหลเวียนโลหิต (airway, breathing, and circulation; ABCs) เพื่อให้ผู้ป่วยพ้นภาวะวิกฤติ
การประเมินสภาพผู้ป่วย (Patient evaluation)
เป็นการซักประวัติ การตรวจร่างกาย และการส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การรักษาเบื้องต้น (Early management)
เน้นการช่วยระบบหายใจและระบบไหลเวียนโลหิต (airway, breathing, and circulation; ABCs) เพื่อให้ผู้ป่วยพ้นภาวะวิกฤติ
การรักษาแบบประคับประคอง (Supportive Treatment)
เป็นการรักษาอย่างต่อเนื่องในกรณณีที่ผู้ป่วยมีอาการรุนแรง
การรักษาแบบจำเพาะ (Specific Treatment)
การลดการปนเปื้อน / การเร่งการขับออก / การให้ยาต้านพิษ / การป้องกัน
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับพิษและยาต้านพิษ
ซักประวัติการเจ็บป่วย และประวัติการแพ้ยาก่อนให้ยาทุกครั้ง
ให้ยาตามมาตรฐานการให้ยาสำหรับการพยาบาล
ประเมิน ติดตามอาการของผู้ป่วยหลังให้ยาทุกครั้ง
บันทึกและรายงานผลอาการข้างเคียง ภาวะแทรกซ้อน และข้อผิดพลาดจากการให้ยาทุกครั้ง
ปัจจัยที่มีผลต่อการเป็นพิษ
อวัยวะหรือส่วนของร่างกายที่มีปฏิกิริยากับสารเคมี
ความถี่ ความเข้มข้น และระยะเวลาขิงการได้รับสัมผัสสารเคมี
ความแตกต่างระหว่าบุคคล เช่น ผู้หญิงมีโอกาสรับสารเคมีที่ละลายในชั้นไขมันได้มากกว่าผู้ชาย
เส้นทางที่สารพิษในสิ่งแวดล้อมจะเข้าสู่ร่างกายมนุษย์ได้
Inhalation
ทางการหายใจก็จะเกิดอาการทางระบบหายใจได้มาก เช่น แสบคอ หอบเหนื่อย ปอดบวมน้ำ
Ingestion
ทางการกินก็จะเกิดอาการในระบบทางอาหาร เช่น แสบท้อง ปวดท้อง ทางเดินอาหารเป็นแผล ซึ่งเป็นเส้นทางที่มีพื้นที่การดูดซึมมากที่สุด
Skin absorption
ทางผิวหนังก็จะเกิดอาการขึ้นที่ผิวหนัง เช่น คัน ผื่นแดง ตุ่มน้ำ
ลักษณะการเกิดพิษที่มีผลกระทบต่อร่างกาย
ผลกระทบแบบเฉียบพลัน (Acute effects)
Immediate effect
ได้รับแล้วเกิดผลทันที
Acute effect
ผลที่เกิดเฉียบพลันไม่นาน
ผลกระทบแบบเรื้อรัง (Chronic effects)
Delayed effect
ได้รับแล้วนานกว่าจะเกิดผล
Local effect
ผลเกิดเฉพาะส่วนที่สัมผัส
Systemic effect
ผลเกิดตามระบบทั่วร่างกาย
นางสาวสุทธิดา สีสงนาง เลขที่ 54 ห้อง A