Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 8 แรงงานสัมพันธ์ (Labor Relations) - Coggle Diagram
บทที่ 8 แรงงานสัมพันธ์ (Labor Relations)
คำนิยามและความหมาย
แรงงานสัมพันธ์ (Labor Relation) เป็นความสัมพันธ์ระหว่างองค์การฝ่ายนายจ้าง องค์การฝ่ายลูกจ้าง และองค์การรัฐบาล หรือเป็นความสัมพันธ์ระหว่างฝ่ายนายจ้างกับฝ่ายลูกจ้าง ซึ่งรัฐบาลมีความจำเป็นต้องเข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องด้วยโดยตรง
นายจ้าง” หมายความว่า ผู้ซึ่งตกลงรับลูกจ้างท างานโดยจ่ายค่าจ้างให้ และหมายความรวมถึงผู้ซึ่งได้รับมอบหมายจากนายจ้างให้ทำการแทน
ลูกจ้าง” หมายความว่า ผู้ซึ่งตกลงทำงานให้แก่นายจ้างเพื่อรับค่าจ้าง
สภาพการจ้าง” หมายความว่า เงื่อนไขการจ้างหรือการทำงานกำหนดวันและเวลาท างาน ค่าจ้าง สวัสดิการ การเลิกจ้าง หรือประโยชน์อื่นของนายจ้างหรือลูกจ้างอันเกี่ยวกับการจ้างหรือการทำงาน
ข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้าง หมายถึง ข้อตกลงระหว่างนายจ้างกับลูกจ้างเกี่ยวกับสภาพการจ้าง
ข้อพิพาทแรงงาน หมายถึง ข้อขัดแย้งระหว่างนายจ้างกับลูกจ้างเกี่ยวกับสภาพการจ้าง
การปิดงาน หมายถึง การที่นายจ้างปฏิเสธไม่ยอมให้ลูกจ้างทำงานชั่วคราวเนื่องจากข้อพิพาทแรงงาน
การนัดหยุดงาน หมายถึง การที่ลูกจ้างร่วมกันไม่ทำงานชั่วคราว เนื่องจากข้อพิพาทแรงงาน
วัตถุประสงค์ของแรงงานสัมพันธ์
การระงับข้อพิพาท
การส่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่างนายจ้างกับลูกจ้าง
การรักษาความเป็นธรรมในด้านสังคมและเศรษฐกิจ
ให้ความคุ้มครองแก่นายจ้างและลูกจ้าง
แรงงานสัมพันธ์ในสถานประกอบการ
การกำหนดนโยบาย
การจัดให้มีคณะกรรมการ
การกำหนดวิธีการร้องทุกข์ของลูกจ้าง
มาตรการที่ใช้ในการแก้ไขปัญหาเกี่ยวกบแรงงานสัมพันธ์
พระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518
หมวด 1 ข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้าง
หมวด 2 วิธีระงับข้อพิพาทแรงงาน
หมวด 3 การปิดงานและการนัดหยุดงาน
หมวด 4 คณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์
หมวด 5 คณะกรรมการลูกจ้าง
หมวด 6 สมาคมนายจ้าง
หมวด 7 สหภาพแรงงาน
หมวด 8 สหพันธ์นายจ้างและสหพันธ์แรงงาน
หมวด 9 การกระทำอันไม่เป็นธรรม
หมวด 10 บทกำหนดโทษ
กิจกรรมการส่งเสริมแรงงานสัมพันธ์
ความสำคัญต่อนายจ้าง
สามารถดำเนินกิจการได้อย่างต่อเนื่องช่วยให้กิจการมีผลกำไร และมีความเจริญก้าวหน้า
ไม่ต้องเสียเวลา เสียเงิน เสียความรู้สึก และเสียหน้า
รักษาระเบียบวินัย ความสงบเรียบร้อยในสถานประกอบการ
ความสำคัญต่อลูกจ้าง
มีขวัญกำลังใจ และความพึงพอใจในการทำงาน
มีการเปลี่ยนแปลงปรับปรุงค่าจ้าง และผลประโยชน์ตอบแทนสวัสดิการ สภาพการจ้างงาน และสภาพการทำงานอันเป็นประโยชน
ูลูกจ้างมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดริเริ่ม และความสามารถในการท างานเพื่อพัฒนาตัวเองให้กาวหน้าในอาชีพการท างานมากยิ่งขึ้น
ลูกจ้างมีความมั่นคงในการทำงาน
ความสำคัญต่อประชาชนทั่วไป
แรงงานสัมพันธ์ที่ดี ส่งผลให้การดำเนินธุรกิจของสถานประกอบการต่างๆด าเนินไปอย่าง มีประสิทธิภาพ ทำให้ประชาชนทั่วไปในฐานะผู้บริโภคได้รับสินค้าและบริการที่ดีจากสถานประกอบการต่างๆ
ความสำคัญต่อประเทศชาติ
เกิดความสงบสุขในวงการอุตสาหกรรม
ช่วยลดปัญหาข้อขัดแย้ง
สภาพแวดล้อมที่มีอิทธิพลต่อแรงงานสัมพันธ์
สภาพแวดล้อมทางด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง
ปัญหาเกี่ยวกับแรงงานสัมพันธ์
กฎหมายแรงงาน
ท่าทีของนายจ้าง
ปัญหาเกี่ยวกับลูกจ้าง
ปัญหาเกี่ยวกับสหภาพแรงงาน
ปัญหาการแทรกแซงทางด้านการเมือง
ปัญหาแรงงานในรัฐวิสาหกิจ
รูปแบบการส่งเสริมแรงงานสัมพันธ์
ระบบทวิภาค เป็นระบบที่นายจ้างเปิดโอกาสให้ลูกจ้างเข้ามามีส่วนร่วมในการให้ข้อเสนอแนะ แสดงความคิดเห็น ร่วมปรึกษาหารือและร่วมตัดสินใจเกี่ยวกับการจัดการในระดับต่างๆ ตามความเหมาะสม
ระบบไตรภาค ระกอบด้วยนายจ้าง ลูกจ้างและหน่วยงานของรัฐ ร่วมกำหนดแนวทางหรือาตรการที่จะป้องกันปัญหาแรงงานไม่ให้เกิดขึ้นโดยให้คำปรึกษา
สาระสำคัญ พระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518
ขอบเขตการบังคับใช้ ไม่ให้ใช้บังคับ
ข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้าง
การกำหนด แก้ไขเพิ่มเติมข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้าง
วิธีระงับข้อพิพาทแรงงาน
ข้อห้ามสำหรับนายจ้าง
คณะกรรมการลูกจ้าง
สมาคมนายจ้าง
สหภาพแรงงาน
สหพันธ์นายจ้างและสหพันธ์แรงงาน
สภาองค์การนายจ้าง
สภาองค์การลูกจ้าง
การกระทำอันไม่เป็นธรรม