Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พยาธิวิทยาสิ่งแวดล้อม - Coggle Diagram
พยาธิวิทยาสิ่งแวดล้อม
สารพิษ
Paracetamol
ลดไข้ออกฤทธิ์ที่6สมองส่วน Hypothalamus
ลดการกระตุ้นความเจ็บปวด Peripheralและลดการสร้างprostaglandin ในสมองส่วนกลาง
-
อาการ
ภายใน 24 ชั่วโมงแรกหลังกินยา: ส่วนใหญ่มีอาการคลื่นไส้อาเจียน เหงื่อออก เบื่ออาหารในระยะสั้นๆ เท่านั้น ผู้ป่วยบางรายอาจจะไม่มีอาการเลย
-
หลังจาก 48 ชั่วโมง: ผู้ป่วยจะเริ่มมีอาการของตับอักเสบ คือ คลื่นไส้
เบื่ออาหารอักครั้ง ในรายที่ไม่รุนแรงก็จะทุเลาลงในเวลาต่อมา
Aspirin
ยาแก้ปวด แก้อักเสบทที่รู้จักทั่วไป มีประสิทธิภาพในการป้องกันโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด
และโรคหลอดเลือดตีบในสมอง
-
ขนาดยาที่ทําให้เกิดเป็นพิษในภาวะเฉียบพลันเริ่ม ตั้งแต่ 150 - 200 มก/กก หากได้รับในขนาด 300-500 มก/กก จะเกิดอาการพิษรุนแรงได้
อาการ
-
จากนั้นผู้ป่วยจะเริ่ม มีอาการกระวนกระวายสับสน หัวใจเต้นเร็ว ช่วงแรก pH จะเป็นแบบ respiratory alkalosis
-
24 ชั่วโมง ผู้ป่วยจะมีอาการซึม ชัก และ coma ในเวลาต่อมา ผู้ป่วยบางรายจะมีภาวะเลือดออกทั้ง จาก platelet dysfunction และ coagulopathy
Carbamate
-
Carbamateมีฤทธิ์ยับยั้งเอ็นไซม์แบบ reversible มักจะมีอาการผิดปกติไม่เกิน 48 ชั่วโมง ในขณะที่
Organophosphate มีฤทธิ์ยับยั้งเอ็นไซม์แบบ irreversible
อาการ
-
Salivation and Small pupils,
-
-
-
-
-
-
Paraquad
พาราควอท เป็นสารกําจัดวัชพืชที่มีประสิทธิภาพสูงแต่การได้รับสารพาราควอทในขนาดที เป็นพิษมีโอกาสเสียชีวิตได้สูงแม้จะได้รับการรักษาอย่างเต็มที่
อาการ
-
-
-
1-2 สัปดาห์หลังกิน: ไอ ไอเป็นเลือด มีน้ำในเยื้อหุ้มปอด (pleural
effusion)มีพังผืดในปอด (lung fibrosis) และการทํางานของปอดลดลง ผู้ป่วยยังมีโอกาสรอดชีวิต แต่ผู้ป่วยส่วนใหญ่เสียชีวิต ภายใน 2-3
สัปดาหเ์นื่องจากการหายใจล้มเหลว
PM 2.5
-
สามารถลอยได้นาน หลายชั่วโมงจากแหล่งกําเนิด1-10 กม
PM 2.5 สามารถลอยได้เป็นวัน ถึงหลายสัปดาห์จากแหล่งกําเนิด
100-1000 กม
-
-
Cabonmonoxide
ส่วนคาร์บอนมอนนอกไซด์จากภายนอกร่างกายนั้น
เข้าสู่ร่างกายทางการหายใจแล้วถูกดูดซึมอย่างรวดเร็วเข้าไปจับกับฮีโมโกลบิน มัยโอโกลบิน และ cytochrome oxidase ยังผลใหเ้กิด การขาดออกซิเจนของเนื้อเยื้อและเกิดเมทาบอลิซึมที่ไม่ใช้ออกซิเจน ทําใหเ้กิดการคั่งกรดแล็คติค
อาการ
อาการปวดศีรษะเป็นอาการที่พบบ่อยที่สุดในผู้ป่วยได้รับพิษทั้งเฉียบพลันและเรื้อรัง อาการอื่นๆที่ไม่ค่อยชัดแจ้งได้แก่ มึนงง อ่อนเพลีย ตามัวหลงๆลืม และ หายใจขัด ผู้ป่วยอาจมีอาการคลื่นไส้อาเจียน ปวดศีรษะ ครั่นเนื้อครั่นตัว อ่อนเพลีย ไม่มีแรง แน่นทรวงอก ใจสั่น
Sulferdioxide
ซัลเฟอร์ไดอ๊อกไซด์ เป็นสารมลภาวะที่สําคัญ ก๊าซนี้จะได้มาจากถ่านหรือโรงงานพลังถ่านหิน และในกระบวนการอุตสาหกรรมที่ใช้พลังงานจากฟอสซิล ซึ่งจะนําไปสู่การผลิตละอองกรด
อาการ
-
- จามและมีน้ำมูก ,เยื่อจมูกและคอหอยส่วนจมูก (nasopharynx) อักเสบ บวมแดง และมีเสมหะในคอ
- แน่นหน้าอก หายใจขัด, มีเสียงหายใจหวีดหวือ (อาการต่างๆจะรุนแรงในคนที่เป็นโรคหืด )
- อาการต่างๆดีขึ้น เมื่อหยุดงานสุดสัปดาห์และเมื่อมีโอกาสพักงาน เช่น พักร้อน
Silicosis
ซิลิโคสิส เป็นโรคระบบหายใจที่เกิดขึ้นเนื่องจากการทํางานที่เป็นปัญหาสําคัญของประเทศไทยเนื่องจากพบได้บ่อยและมีความรุนแรงจนทําให้เสียชีวิตได้โรคนี้เกิดจากการหายใจเอาฝุ่นในสภาพแวดล้อมการทํางานที่มี free crystalline silica เข้าไปในปอดเป็นเวลานาน ทําให้เกิดโรคปอดแบบ chronic diffuse interstitial fibronodule
อาชีพเสี่ยง
- การขุดเจาะพื้นดินที่มีหินเป็นองค์ประกอบเพื่อทําเหมืองแร่ขุดอุโมงค์
-
- การผลิตกระเบื้องและอฐิทนไฟ หรือผงแร่อโลหะ
- การขัดผิวผลิตภัณฑ์เซรามิก
- การพ่นทรายเพื่อกัดสนิมโลหะ หรือการแกะสลักกระจก
- การเลื้อย ตัดแต่ง หรือขัดหิน เพื่อนําไปใช้งาน เช่น ทําวัสดุปูพื้น ทําครก
ตกแต่งสวน ป้ายหลุมศพ เป็นต้น
อาการ
ผู้ป่วยจะมีอาการหอบเหนื่อยเวลาออกแรงเป็นมากขึ้นเรื่อยๆในเวลาเป็นเดือนหรอเป็นปี ส่วนใหญ่จะมีอาการไอเรือรังและมีเสมหะมากร่วม
Asbestosis
แอสเบสโทสิส คือ โรคที่เกิดจากการสูดหายใจเอา asbestos fiber
เข้าไปสะสมในปอดเป็นเวลานานและจํานวนมากพอจนทําให้เกิดการอักเสบของเนื้อเยื้อแล้วตามมาด้วยการเกิด diffuse interstitial fibrosis
irregular small opacity เด่นที่บริเวณส่วนล่างของปอด ในระยะแรกของโรคจะเห็นเป็น fine reticulation
เมื่อโรคลุกลามมากขึ้นจะเห็น coarse liner pattern และพบลักษณะ honeycombing ในระยะท้ายของโรค
สาเหต
- กระเบื้องมุงหลังคา ท่อซีเมนต์และวัสดุที่ผสมฉนวนกันความร้อน
-
- การรื้อถอนอาคารสิ่งก่อสร้าง หรืออุปกรณ์อื่นๆที่มีฉนวนกันความร้อน
-
Asenic
สารหนู(arsenic) พบในเหมืองเหล็ก และในเถ้าภูเขาไฟในอุตสาหกรรมพบได้ในการหลอมตะกัวเงิน หรือทอง
การใช้ยาปราบศัตรูพืช
-
ปรอท
ปรอท เป็นโลหะหนักสีเงินขาว มีลักษณะเป็นของเหลวที่อุณหภูมิห้อง มีความดันไอสูงทําให้มีการระเหยสู่บรรยากาศตลอดเวลา
อาการเฉียบพลัน
การสัมผัส elementary mercury จำนวนมากทำให้มีอาการทางระบบประสาท ได้แก่ การเห็นภาพหลอนเพ้อและมีแนวโน้มที่จะฆ่าตัวตาย
Erethism ซึ่งประกอบด้วยอาการสามอย่างคือเหงือกอักเสบสั่นและอารมณ์ไม่สมดุลย์ซึ่งอาจพบร่วมกับอาการแยกตัวขี้อายวิตกกังวลไม่มีสมาธิซึมเศร้าอยู่ไม่สุขเป็นต้น
-
อาการเรื้อรัง
การสัมผัสเป็นระยะเวลานานจะทำให้เกิดอาการ acrodynia หรือ disease ซึ่งเป็นภาวะภูมิไวเกินต่อปรอทจะมีการบวมแดงหนาตัวของฝ่ามือฝ่าเท้าและมีอาการเจ็บที่ปลายมือ
แคดเมียม
เป็นโลหะสีเงินปนขาวเป็นสารที่ใช้ในกิจการอุตสาหกรรมเคลือบโลหะทำเหล็กเส้นแบตเตอรี่พลาสติกเครื่องปั้นดินเผาทำสีเชื่อมโลหะและทำปุ๋ย
อันตรายต่อกระดูกเนื่องจากแคดเมียมจะเข้าไปสะสมที่กระดูกแทนที่แคลเซียมทำให้ผู้ป่วยเกิดอาการปวดกระดูกซึ่งภาษาญี่ปุ่นเรียกว่าโรคอิไตอิไต (Itai-itai) ทำให้ผู้ป่วยเป็นโรคกระดูกพรุน (Osteoporosis) ได้อันตรายต่อไตเนื่องจากแคดเมียมไปสะสมที่ไตทำให้ไตอักเสบและไตวายได้
ตะกั่ว
เมื่อเข้าสู่ร่างกายแล้วในระยะแรกจะอยู่ในรูปของ Lead phosphate ซึ่งจะกระจายไปตามเนื้อเยื่ออ่อนต่าง ๆ เช่นสมองปอดตับม้ามไขกระดูกเส้นผมเป็นต้นหลังจากนั้นบางส่วนจะเข้าไปสะสมที่กระดูกในสภาพ lead triphosphate โดยร้อยละ 30 จะสะสมในเนื้อเยื่ออ่อนและอีกร้อยละ 70 จะสะสมในกระดูก
ตะกั่วเป็นโลหะหนักเป็นสารที่มีมากที่สุดในโลกมีน้ำหนักมากสีเทาแข็งนุ่มตะกั่วอนินทรีย์ประกอบด้วย lead oxides, metallic lead, and lead salts
ยาเสพติด
สารเสพติดกลุ่ม Opioid
อาการติดฝิ่น และ เฮโรอีน
Overdose triad ของอาการ opiate overdose คือ coma, pinpoint pupils และ respiratory depression นอกจากนี้ควรตรวจดูรอยเข็มฉีดยา
กัญชา
ผู้เสพมีความกระปรี้กระเปร่าสดชื่นไม่รู้สึกหิวอาหารไม่รู้สึกเจ็บปวดหรือเมื่อยเนื้อเมื่อยตัว แต่หากอากาศครึ้มฟ้าครึ้มฝนเมื่อไรจะเกิดการหนาวสั่นคล้ายกับจะเป็นไข้
ยาอี
พูดมากตื่นเต้นง่ายมือสั่นคลื่นไส้ความดันเลือดสูงหัวใจเต้นเร็วและแรง เหงื่อออกมาก กลิ่นตัวแรง ปากและจมูกแห้ง หน้ามัน ไม่ง่วงทำงานได้นานกว่าปกติ รูม่านตาเบิกกว้าง เสพนานจะมีอาการคลุ้มคลั่ง
-
-
สารระเหย
พิษระยะเฉียบพลันหลังเสพประมาณ 15-20 นาทีผู้เสพจะตื่นเต้นร่าเริงต่อมาจะมีอาการเมาพูดจาอ้อแอ้ (แม้ไม่มีกลิ่นสุรา) ความคิดสับสนควบคุมตัวเองไม่ได้
พิษเรื้อรังการเสพสารระเหยต่อเนื่องนาน ๆ เซลล์อวัยวะต่างๆจะถูกทำลายเกิดโรคต่างๆตามมาโดยเฉพาะจะทำลายเซลล์สมองทำให้เป็นโรคสมองฝ่อถาวร
ใบกระท่อม
หากเสพไปนาน ๆ จะพบว่าผิวของผู้เสพมีความคล้ำลงจนดูเหมือนผิวแห้งมีอาการท้องผูกอุจจาระแข็งเป็นก้อนเล็ก ๆ ทำให้ถ่ายยากกว่าปกตินอนไม่หลับคลื่นไส้อาเจียนจากอาการเมาใบกระท่อม
pyrethroids
-
ผู้ป่วยมักมีอาการไม่รุนแรงยกเว้นการได้รับสารปริมาณมากอาจก่อให้เกิดอันตรายได้ผู้ป่วยที่ได้รับปริมาณไม่มากจะมีอาการ คลื่นไส้มอาเจียน เวียนศีรษะ ใจสั่น
การใส่สายล้างช่องท้องทางจมูกควรใส่ในรายที่ได้รับสารในประมาณที่มากเพื่อใส่ผงกัมมันต์ (activated charcoal) เพราะการใส่สายอาจเพิ่มความเสี่ยงต่อการสำลักปอดบวมได้ผู้ป่วยที่ได้รับประมาณไม่มากสามารถรักษาตามอาการได้
-
บุหรี่
สารพิษในบุหรี่
-
ทาร์ (Tar) มีลักษณะคล้ายน้ำมันดินเกิดจากการเผาไหม้ของใบยาสูบมีสารเบนโซพัยรีน (benzopyrine) ซึ่งเป็นสารก่อมะเร็ง
-
ไนโตรเจนไดออกไซด์ (Nitrogen dioxide) เป็นสาเหตุของโรคถุงลมปอดโป่งพองทำลายเยื่อบุหลอดลมส่วนปลายและถุงลมทำให้ผนังถุงลมโป่งพองและถุงลมลดจำนวนลง
แอมโมเนีย (Ammonia) มีฤทธิ์ระคายเคืองเนื้อเยื่อทำให้แสบตาแสบจมูกหลอดลมอักเสบใช้ในขบวนการผลิตเพื่อให้นิโคตินถูกดูดซึมผ่านปอดเร็วขึ้น
-
-
Alcohol
Alcohol ถูกดูดซึมทางกระเพาะอาหารและลำไส้อย่างรวดเร็ว 90% ของ alcohol ที่ดื่มเข้าไปจะถูกดูดซึมในชั่วโมงแรก
-
ธรรมชาติ
Pressure
อาการ
การบาดเจ็บจากแรงดันอากาศที่หูส่วนกลางและไซนัส ปอดฉีกขาด(burst lung) การอุดตันของเส้นเลือดไปเลี้ยงสมอง(cerebral air embolism)
การเจ็บป่วยจากการเปลี่ยนความดันอากาศ (decompression sickness) พิษจากก๊าซออกซิเจน(ในกรณีที่มีการใช้ก๊าซออกซิเจนในขณะที่มีการปรับเปลี่ยนความดันอากาศ) และภาวะกระดูกตายจากความดันที่ผิดปกติ (dysbaric osteonecrosisX
อาชีพเสี่ยง
-
ต้องทำงานมนบรรยากาศความดันสูง (Caisson operations) เช่น คนงานก่อสร้างที่ต้องทำงานใต้น้ำ ผู้ทำงานในอุโมงค์ เป็นต้น
-
การเปลี่ยนแปลงของความสูง(ในอากาศ) หรือความลึก(ในน้ำ) โรคจากความกดอากาศอาจแบ่งได้เป็น กลุ่มใหญ่ๆคือ ความกดอากาศเพิ่ม เช่น ดำน้ำลงกับความกดอากาศลดเช่น ขึ้นจากน้ำที่ลึกมาตื้น หรือขึ้นไปในอากาศที่สูงขึ้นไปเช่น ขึ้นเขา
Hypothermia
-
อาการ
Chilblains (Pernio): เริ่มด้วยผิวหนังแดง คันจากการอีกเสบเนื่องจากความเย็นถ้ายังรับสัมผัสต่อไปจะกลายเป็น chronic pernio หรือ blue toes
-
Frostbite:มีการแข็งของผิวหนังส่วนที ปกคลุมได้แก่ผิวหนังและเนื้อเยื่อชั้นใต้ผิวหนังทําใหเ้กิดอาการชา เจ็บแปลบหรือคัน ผิวหนังจะเป็นสีเทาขาว
การรู้สติลดลง พูดลิ้นรัว กระวนกระวายการเคลื่อนไหวที่ต้องการความละเอียดเสียไป
มีอาการอ่อนแรงทั้งตัวและทําอะไรเชื่องช้าลงปัสสาวะบ่อยผิวหนังดูบวม และเย็น ถ้าเป็นมากขึ้นความจําจะเลวลง นั่งเฉย ไม่มีตัวสั่น
Radiation
รังสีแตกตัวแบ่งได้เป็น 2 กลุ่มคือชนิดมีอนุภาค เช่น แอลฟา เบต้ากับชนิดไม่มีอนุภาค เช่น รังสีเอกซ์รังสีแกมม่า
อาชีพเสี่ยง
-
-
-
-
ผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการใช้เครื่องฉายรังสีในทางการแพทย์เช่น
นักรังสีเทคนิคและผู้ช่วยทันตแพทย์และผู้ช่วยแพทย์
ผลจากการที่รังสีทําลายเซลล์
ของระบบที่มีความสําคัญต่อร่างกายเช่น เซลล์ของระบบไขกระดูก เยื่อบุทางเดินอาหาร หลอดเลือดที่หล่อเลี้ยงอวัยวะสําคัญ เช่นหัวใจและสมอง เป็นต้น รังสีสามารถเหนี่ยวนําให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในระดับต่างๆ
พิษจากสัตว์
Jelly fish
-
การปฐมพยาบาล
-
ใช้ผักบุ้งทะเลซึ่งชอบขึ้นอยู่แถวชายหาดที่มีแมงกะพรุน ขยี้กับส้ม สายชูความเข้มข้น 5% ประคบผิวหนังบริเวณที่โดนพิษแล้วห่อ ด้วยผ้าขาวบาง ทิ้งไว้ 30-60 นาที อาการระคายจะค่อยๆดีขึ้น ข้อสําคัญผักบุ้งทะเลต้องสะอาด
Snake
ชนิดงู
งูที่ผลิตพิษต่อระบบประสาท (neurotoxin) ได้แก่ งูเห่าไทย (Cobra, Naja kaouthia) งูเห่าพ่นพิษ (Spitting cobra, Naja siamensis) งูจงอาง (King cobra, Ophiophagus hunnah) งูสามเหลี่ยม (Banded krait, Bungarus fasciatus) งูทับสมิงคลา (Malayan krait, Bungarus candidus)
งูที่ผลิตพิษต่อระบบเลือด (hematotoxin) ได้แก่ งูแมวเซา (Russell’s viper, Daboia russelli) งูกะปะ (Malayan pit viper, Calloselasma rhodostoma) งูเขียวหางไหม้ (Green pit viper, Trimeresurus spp.)
-
-
การดูแลเบื้องต้น
-
ล้างแผลด้วยน้ำสะอาด ห้ามกรีดตัด ดูด จี้ไฟ หรือพอกยาบริเวณแผลที่ถูกงูกัด เนื่องจากอาจทำให้มีการติดเชื้อได้ และการดูดแผลงูกัด อาจเกิดอันตรายร้ายแรงต่อผู้ดูด
พยายามให้บริเวณที่ถูกงูกัดเคลื่อนไหวน้อยที่สุด โดยเฉพาะอวัยวะส่วนที่ถูกงูกัด จะชะลอการซึมของพิษงูเข้าสู่ร่างกายได้