Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 12 บทบาทพยาบาลในการดูแลรักษาและฟื้นฟูสภาพ ผู้ที่มีปัญหาสุขภาพจิตและจ…
บทที่ 12 บทบาทพยาบาลในการดูแลรักษาและฟื้นฟูสภาพ ผู้ที่มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช
การบำบัดรักษาทางจิตใจหรือจิตบำบัด (Psychotherapy)
จิตบำบัดรายบุคคล (Individual psychotherapy)
จิตบำบัดแบบหยั่งเห็น (Insight Psychotherapy)
มุ่งบำบัดอาการของผู้ป่วยให้เกิดการรู้แจ้งเห็นจริงต่อความขัดแย้งของจิตใจ ในระดับจิตไร้สำนึกจุดมุ่งหมาย
จิตบำบัดแบบประคับประคอง (Supportive Psychotherapy)
เป็นจิตบำบัดที่มุ่งส่งเสริมปรับปรุงกลไกการป้องกันทางจิต (Defense mechanism)ของผู้ป่วยที่มีอยู่แล้วให้เข้มแข็งยิ่งขึ้น เป็นจิตบำบัดที่สนใจเฉพาะเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน
จิตวิเคราะห์ (Psychoanalysis)
เป็นการรักษาทางจิตที่เน้นบทบาทของแรงในจิตไร้สำนึกในโรคประสาทซึ่งสามารถพิสูจน์ได้จากการสะกดจิต ปรากฏการณ์บางอย่าง เช่น การฝัน และการพลั้งปากจากผลของประสบการณ์ในวัยเด็ก
การสะกดจิต (Hypnosis)
คล้ายกับการนอนหลับ แต่ไม่ใช่การนอนหลับขณะถูกสะกดจิต ผู้ป่วยจะมีสมาธิสูงและเชื่อฟังคำแนะนำหรือคำสั่งได้ดีแต่ความรู้สึกในส่วนปลาย (Peripheral)ของร่างกายและการเคลื่อนไหวจะลดลง
บทบาทของพยาบาลในการทำจิตบำบัดรายบุคคล
พยาบาลทั่วไป ได้แก่ พยาบาลที่จบหลักสูตรการพยาบาลที่มีวุฒิปริญญาตรีอาจได้รับการศึกษาพิเศษในหลักสูตรการพยาบาลจิตเวชระยะสั้นจะทำหน้าที่บริหารงานในหน่วยรักษาให้การพยาบาลตามแผนการรักษา
พยาบาลผู้เชี่ยวชาญทางการพยาบาลจิตเวช หรือ Clinical nurse specialistเป็นพยาบาลที่ได้รับการศึกษาขั้นปริญญาโททางการพยาบาลจิตเวชสามารถทำจิตบำบัดได้ทั้งกับผู้ป่วยรายบุคคลและเป็นกลุ่ม
จิตบำบัดกลุ่ม (Group Psychotherapy)
ชนิดของกลุ่มจิตบำบัด
กลุ่มพบปะสังสรรค์ (Therapeutic Social Club)
กลุ่มปลุกเร้าความรู้สึกเก็บกด (Repressive Inspiration Group)
กลุ่มการแสดงออกอย่างเสรี (Free Interaction group or Group CenteredPsychotherapy)
กลุ่มการสอน (Directive Group)
ละครจิตบำบัด (Psychodrama)
บทบาทของพยาบาลในการทำจิตบำบัดรายบุคคลและรายกลุ่ม
พยาบาลทั่วไป ได้แก่ พยาบาลที่จบหลักสูตรการพยาบาลที่มีวุฒิปริญญาตรีอาจได้รับการศึกษาพิเศษในหลักสูตรการพยาบาลจิตเวชระยะสั้นจะทำหน้าที่บริหารงานในหน่วยรักษาให้การพยาบาลตามแผนการรักษา
พยาบาลผู้เชี่ยวชาญทางการพยาบาลจิตเวช หรือ Clinical nurse specialistเป็นพยาบาลที่ได้รับการศึกษาขั้นปริญญาโททางการพยาบาลจิตเวชสามารถทำจิตบำบัดได้ทั้งกับผู้ป่วยรายบุคคลและเป็นกลุ่ม
เป็นการรักษาความแปรปรวนทางจิตใจและพฤติกรรมอย่างหนึ่ง โดยอาศัยอิทธิพลของกระบวนการกลุ่ม หรือกลไกกลุ่มโดยเน้นสัมพันธภาพระหว่างบุคคลช่วยให้เกิดการเรียนรู้ความ ไว้วางใจ ความซื่อสัตย์การให้และรับความคิดเห็นอย่างเปิดเผย ช่วยให้เข้าใจปัญหาที่เกิดขึ้นด้วย ตนเอง
เป็นการรักษาทางจิตเวชชนิดหนึ่ง เพื่อแก้ไขอาการอันเกิดจากความผิดปกติด้านจิตใจ อารมณ์หรือปรับปรุงบุคลิกภาพของผู้ป่วย โดยอาศัยความสัมพันธ์ การสื่อสารระหว่างผู้บำบัดกับผู้ป่วยและทฤษฎีทางจิตวิทยาเป็นสำคัญ ทำให้ความคิดความรู้สึกและพฤติกรรมของผู้ป่วยเป็นที่ยอมรับของสังคม
ครอบครัวบำบัด (Family Therapy)
ประเภทของครอบครัวบำบัด
ครอบครัวบำบัดแบบอิงจิตวิเคราะห์ (Psychoanalytic Family Therapy)
ครอบครัวบำบัดโดยให้ความสำคัญกับเรื่องขอบเขตโครงสร้างส่วนบุคคลของครอบครัว (Structural
Family Therapy)
ครอบครัวบำบัดโดยให้ความสำคัญกับเรื่องการสื่อสารในครอบครัว (Interactive Family Therapy)
บทบาทของพยาบาล
เยี่ยมครอบครัวเพื่อสังเกตดูสภาพแวดล้อม บรรยากาศของครอบครัว
อาจเป็น Leader หรือ Co-Leader
จัดสถานที่ในการทำกลุ่ม ที่เงียบสงบ เป็นส่วนตัว
บันทึกพฤติกรรมของสมาชิกที่แสดงออกในขณะอยู่ในกลุ่ม
ติดต่อญาติ นัดวัน เวลา สถานที่
เป็นวิธีการรักษาสมาชิกในครอบครัวที่มีปัญหาทางจิตใจโดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้การกระทำหน้าที่ในครอบครัวทั่ว ๆ ไปดีขึ้นและมีการเปลี่ยนแปลงในสัมพันธภาพระหว่างสมาชิกในครอบครัวเพื่อลดปัญหาหรือความไม่ลงรอยกันที่เกิดขึ้น
พฤติกรรมบำบัด (Behavior Therapy)
องค์ประกอบในการใช้พฤติกรรมบำบัด
ผู้ป่วยจะมีส่วนในการกำหนดโปรแกรมการรักษา
ในการรักษาแต่ละครั้งจะมีเป้าหมายที่ชัดเจน
ทำการประเมินปัญหาทั้งก่อนและหลังการรักษา
จุดประสงค์หลักของการรักษา
วิเคราะห์สาเหตุและปัจจัยที่ทำให้พฤติกรรมนั้นเกิดขึ้น และยังคงดำเนินต่อมา
ผู้รักษาจะช่วยสอนให้ผู้ป่วยพัฒนาทักษะใหม่ๆ
การรักษาจะเน้นที่ปัญหาปัจจุบัน
เทคนิคต่างๆ ที่ใช้ในการรักษาต้องอยู่บนพื้นฐานของความเป็นไปได้ในผู้ป่วยแต่ละราย
การรักษามีรูปแบบและโครงสร้างที่แน่นอน
เทคนิคที่ใช้บ่อยในการรักษาผู้ป่วยจิตเวช
การเรียนรู้จากตัวแบบ (Social Modeling Technique)
การใช้ตัวกระตุ้นที่ไม่พึงพอใจ (Aversive Therapy)
การขจัดความรู้สึกอย่างเป็นระบบ (Systemic Desensitization)
การสร้างพฤติกรรมใหม่ (Behavior rehearsal)
การฝึกการแสดงออกที่เหมาะสม (Assertive Training)
การขจัดพฤติกรรม (Extinction)
การใช้แรงเสริมพฤติกรรม (Reinforcement)
เป็นวิธีการรักษาทางจิตเวชวิธีหนึ่งที่นำหลักการของทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning Theory)มาประยุกต์ใช้ เพื่อแก้ไขหรือเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมพฤติกรรมบำบัดต่างจากการรักษาทางด้านจิตใจอื่นๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการรักษาด้วยจิตบำบัดซึ่งจะเน้นที่การทำให้ผู้ป่วยเข้าใจถึงความขัดแย้งในจิตใจที่เป็นสาเหตุของปัญหา หรือพฤติกรรมแต่พฤติกรรมบำบัดจะพิจารณาปัญหา
บทบาทของพยาบาล
ร่วมกับแพทย์และผู้ป่วยเลือกวิธีการรักษา
ให้กำลังใจผู้ป่วยตั้งแต่เริ่มต้นการรักษาจนกระทั่งสิ้นสุดการรักษา
ช่วยสถานที่และจัดสภาพการณ์ที่เหมาะสมกับวิธีการรักษาแต่ละวิธี
ร่วมกับผู้ป่วยประเมินผลการรักษา
เป็นผู้บำบัดหรือผู้ช่วยเหลือผู้บำบัด
การบำบัดเชิงการรู้คิด
การค้นหาและ ปรับเปลี่ยนความคิดอัตโนมัติสามารถทำได้ 3
ขั้นตอน
ขั้นตอนที่ 2 การ ประเมินและตรวจสอบความคิดดังกล่าวว่าเป็นความจริง หรือไม่มากน้อยเพียงใด (Validity) มีประโยชน์ใดที่จะคิดอย่างนี้(Utility) และ สามารถคิดเป็นอย่างอื่นได้อีกหรือไม่ (Variety)
ขั้นตอนที่ 3 การตอบสนองต่อความคิดอัตโนมัติ
ขั้นตอนที่ 1 การค้นหาความคิด อัตโนมัติทางลบ หรือความคิดที่ทำให้เกิดทุกข์ซึ่งมีผลต่ออารมณ์พฤติกรรม และสรีระ ที่รบกวนศักยภาพในชีวิต ประจำวัน หรือการชีวิตการทำงาน
ขั้นตอนการให้การปรึกษาโดยการปรับความคิดและพฤติกรรม
ครั้งที่ 2 มีงานในการให้การปรึกษาโดยการปรับ ความคิดและพฤติกรรม
สอนให้ผู้รับการปรึกษาได้รู้จักกับความคิดอัตโนมัติทางลบซึ่งเป็นต้นเหตุของอารมณ์ที่ไม่เหมาะสม
ฝึกค้นหาความคิดอัตโนมัติทางลบร่วมกับผู้รับ การปรึกษา
ทบทวนการบ้านที่ได้มอบหมายในครั้งที่แล้ว และถามถึงการเรียนรู้ที่เกิดขึ้น
มอบหมายการบ้านให้ผู้รับการปรึกษาไปค้นหา
ถามผู้รับการปรึกษาถึงภาวะอารมณ์ในปัจจุบัน และให้ระดับคะแนน
สรุปการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นในการปรึกษาครั้งนี้และ ให้ข้อมูลย้อนกลับระหว่างกัน
ผู้ให้การปรึกษาสรุปย่อถึงปัญหาของผู้รับการ ปรึกษาและสิ่งที่ได้เรียนรู้ในครั้งที่ 1
ครั้งที่ 3 และครั้งต่อๆ ไป มีงานในการให้การปรึกษาโดยการปรับความคิดและพฤติกรรม
เลือกความคิดอัตโนมัติมา 1 เรื่องเพื่อฝึกการ ประเมิน
ตรวจสอบหรือพิสูจน์ว่าความคิดดังกล่าวเป็น จริงหรือไม่มากน้อยเพียงใด
ในกรณีที่ความคิดนั้นไม่จริง
ทบทวนการบ้านที่ได้มอบหมายในครั้งที่ 2 ใน
เรื่องการค้นหาความคิดอัตโนมัติและสอบถามการเรียนรู้ ที่เกิดขึ้นในผู้รับการปรึกษา
ระบุอารมณ์รวมทั้งให้ระดับคะแนนของอารมณ์ ณ ปัจจุบัน
มอบหมายการบ้าน ให้ผู้รับการปรึกษาฝึก
พิสูจน์และปรับเปลี่ยนความคิดอัตโนมัติของตนเองมา อย่างน้อย 1 เรื่อง
ทักทายและระบุอารมณ์รวมทั้งให้ระดับคะแนน ของอารมณ์ ณ ปัจจุบัน
สรุปและให้ข้อมูลย้อนกลับระหว่างกันในครั้งต่อ ๆ
กิจกรรมในแต่ละครั้งของการให้การปรึกษาโดยการปรับความคิดและพฤติกรรม ครั้งที่ 1
ตั้งประเด็นสำหรับการให้การปรึกษาในวันนี้ ร่วมกัน
ระบุอารมณ์และให้คะแนนระดับความแรงของ อารมณ์ที่ไม่เหมาะสม
ปรับความคาดหวังของผู้รับการปรึกษาให้เหมาะสมกับผลลัพธ์ที่จะได้จากการปรับความคิดและพฤติกรรม
สำรวจเบื้องต้นถึงเรื่องราวของปัญหาของผู้รับการปรึกษา
ให้ผู้รับการปรึกษามีความหวังในการที่จะปรับ ลดอารมณ์ที่ทำให้เกิดทุกข์ของตนเอง
ระบุปัญหาและตั้งเป้าหมายในการแก้ปัญหาร่วมกัน
แนะนำให้ผู้รับการปรึกษารู้จักการให้การ
ปรึกษาโดยการปรับความคิดและพฤติกรรมรวมทั้ง
สอนผู้รับการปรึกษาถึงความเชื่อมโยงของ ความคิด อารมณ์พฤติกรรมและสรีระ
ให้ความรู้เกี่ยวกับปัญหาที่เกิดขึ้นในมุมมองของ
แนวคิดทางปัญญาตามรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง
มอบหมายการบ้านให้ผู้รับการปรึกษาสังเกต
สร้างสัมพันธภาพแห่งความไว้วางใจกับผู้รับ การปรึกษา
สรุปการสนทนาและให้ข้อมูลย้อนกลับจาก ผู้รับการปรึกษา
แนวคิดพื้นฐานของการบำบัดความคิดและพฤติกรรม (Cognitive-behavioral therapy:CBT) การบำบัดด้วย CBT เชื่อว่าความคิดที่บิดเบือนไปจากความเป็นจริงหรือ dysfunctional thinkingทำให้เกิดผลกระทบต่ออารมณ์ของมนุษย์ โดยในโรคทางจิตเวชส่วนใหญ่จะพบลักษณะของความคิดที่บิดเบือนไปบางประการ ดังนั้นแนวทางในการบำบัด คือ ถ้าสามารถประเมิน (evaluate)ความคิดให้ถูกต้อง ตามความเป็นจริงหรืออยู่ในโลกของความเป็นจริงได้ (realistic) อาการเกี่ยวกับ emotion, behavior ของ ผู้ป่วยก็จะดีขึ้น