Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กรณีศึกษา PBL “นายถุงชา” - Coggle Diagram
กรณีศึกษา PBL “นายถุงชา”
- ข้อมูลของผู้ป่วย และสาเหตุที่สัมพันธ์กับปัญหาเรื่องโรคและการบำบัดรักษา :silhouette:
นายถุงชา อายุ 45 ปี มีอาการป่วยและรับการรักษาโรคทางจิตเวช ตั้งแต่อายุ 25 ปี รับการรักษาไม่ต่อเนื่อง บางครั้งหยุดยาเอง หงุดหงิดง่าย ทําร้ายร่างกายมารดาและแม่ค้าในตลาดเพราะคิดว่าเป็นทหารพม่า บอกว่าตนเองเป็นทหารเอกของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เดินไปเดินมา วุ่นวาย ไม่อาบน้ํา แยกตัว
ปัจจุบันอาศัยอยู่กับมารดาเพียงลําพังแต่อยู่ในชุมชนเดียวกับพี่ชายและพี่สะใภ้ วันนี้พยาบาลจากโรงพยาบาลสุขภาพตําบล ออกไปเยี่ยมบ้านเพื่อติดตามการรักษาภายหลังจากผู้ป่วยได้รับการจําหน่ายออกจากโรงพยาบาลจิตเวชนครสวรรค์ราชนครินทร์
สาเหตุ 1. บุคคลภายในครอบครัวมีประวัติการเจ็บป่วยเป็นโรคจิตเภท(บิดาเป็นโรคจิตเภท) 2.ผู้ป่วยรับการรักษาไม่ต่อเนื่อง บางครั้งหยุดยาเอง จึงทำให้อาการกำเริบหรือกลับมาเป็นซ้ำ
ยาที่ใช้ในการรักษาโรค
- Benzhexol (5) 1 tab O h.s.
- Lorazepam (2) 1 tab O p.r.n.
- Haloperidol 5 mg. IM p.r.n. for agitation 96 hrs.
- Haloperidol decanoate 50 mg. IM q 2 weeks
- Depakine CR (500) 1 tab x 2 O เช้า, h.s.
- Chlorpromazine (25) 1 tab O h.s.
- Clozapine (100) 1.5 tab O h.s.
- ระบุการมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชนในการดูแลบุคคลในวัยผู้ใหญ่ที่มีปัญหาทางจิต
ชุมชน
1.มีเจ้าหน้าที่ในชุมชน หรือ อสม.ติดตามตามเยี่ยมบ้านผู้ป่วย โดยมีการไปให้ความรู้ผู้ดูแล แนะนำและกระตุ้นการฟื้นฟูสมรรถภาพของผู้ป่วย
-
3.ให้โอกาสในการใช้ทักษะที่ได้รับการพัฒนาโดยอาจจะมีการจัดเวทีหรือแสดงผลงานของผู้ป่วยหรืออาจจะให้ผู้ป่วยได้ทำการสอนแนะนำผู้อื่นตามศักยภาพที่มีอยู่
-
-
- ระบุอาการผิดปกติของผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของพฤติกรรม ความคิดและการรับรู้
จากกรณีศึกษา โดยเปรียบเทียบกับทฤษฎี/ เกณฑ์การวินิจฉัยโรค ICD-10 หรือ DSM-5
-
-
-
-
-
-
- สมมติฐาน ที่คาดว่าจะเป็นสาเหตุของปัญหา
และบุคคลที่มีความเกี่ยวข้องกับบุคคลที่มีปัญหาสุขภาพจิตในโจทย์สถานการณ์ (Scenario)
ปัจจัยทางด้านชีวภาพ
- ระบบสารเคมีในสมอง โดยเฉพาะสารเคมีที่ชื่อว่าโดปามีน (dopamine) ในบางบริเวณของสมอง มีการทำงานมากเกินไปส่งผลให้นายถุงชามีอาการคลุ้มคลั่ง
- ความผิดปกติในส่วนอื่นๆ ของสมองที่มีช่องในสมอง (ventricle) โตกว่าปกติ ซึ่งผู้ป่วยเหล่านี้ส่วนใหญ่มีอาการด้านลบเป็นอาการเด่นโดยนายถุงชามีอาการชอบแยกตัวไม่เข้าสังคม
- กรรมพันธุ์ ในบรรดาญาติสายตรงของตัวผู้ป่วยพบว่ามีคนภายในครอบครัวเคยป่วยเป็นโรคจิตเภทนั่นก็คือบิดาของผู้ป่วย
-
- ระบุลักษณะอาการความผิดปกติ/ ปัญหาทางจิตของกรณีศึกษา
-
-
-
-
-
5.การวางแผนการพยาบาลแบบองค์รวมในการแก้ไขปัญหาในผู้ป่วยโรคจิตเภทที่มีความผิดปกติของความคิดและการรับรู้ (เรียงลำดับความสำคัญ)
-
-
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลข้อที่ 3 เสี่ยงต่อการทำร้ายตนเองหรือทำร้ายผู้อื่นให้ได้รับอันตรายร้ายแรง เนื่องจากมีความคิดหลงผิด
กิจกรรมการพยาบาล
- ประเมินความคิดของผู้ป่วยว่ามีผลอย่างไรต่อพฤติกรรม ผู้ป่วยรายนี้คิดว่ามารดาและแม่ค้าในตลาดเพราะคิดว่าเป็นทหารพม่า และคิดว่าตนเองเป็นทหารเอกของพระนเรศวร จึงต้องระมัดระวังในประเด็นนี้
- สร้างสัมพันธภาพกับผู้ป่วย โดยรับฟังด้วยความเข้าใจ ไม่โต้แย้ง ขณะเดียวกันก็ไม่สนับสนุนความเชื่อของผู้ป่วย
- สร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัดอย่างสม่ำเสมอเพื่อ โดยการมาพูดคุยกับผู้ป่วยทุกวัน
-
- ดูแลให้ยา Haloperidol 5 mg. IM p.r.n. for agitation q 6 hrs. Chlorpromazine (25) 1 tab O h.s. Clozapine (100) 1.5 tab O h.s. ตามแผนการรักษา
- สังเกตพฤติกรรมที่เกิดขึ้นกับผู้ป่วยขณะรับการรักษา
-
-
-