Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประเมิน HEENT - Coggle Diagram
การประเมิน HEENT
การตรวจตา
-
ลูกตา (eyeball) : ดูตําแหน่งของลูกตา และเปลือกตาดูความชุ่มชื้น ดูความนูนของลูกตา ปกติขณะลืมตา ขอบของเปลือกตาบนจะคลุมรอยต่อของตาดําและตาขาว(limbus)ในการตรวจดูภาวะะตาโปน(exopthalmos) โดยให้ผู้ใช้บริการนอน
ผู้ตรวจยืนอยู่ด้านเหนือศีรษะ สังเกตดูว่าลูกตาโปนมากก่าปกติหรือไม่ ถ้ามีตาโปนจะพบว่าเปลือกตาบนจะไม่คลุมของตาดํา จึง
เห็นตาขาวลอยอยู่เหนือตาดํา การคลําลูกตาเพื่อประเมินความนุ่ม โดยห้ผู้ใช้บริการหลับตา ผู้ตรวจใช้ปลายนิ้วชี้และนิ้วกลาง
คลําเหนือเปลือกตาทั้งสองข้าง สังเกตความนุ่ม แข็ง ปกติจะ่นึม หากสัมผสแ้วแข็ง บ่งบอกถึงภาวะความดันในลูกตาสูง
หนังตา (eyelid) : ดูว่าหนังตา บวม ช้ํา เป็นก้อน หรือตุ่มหนองหรือไม่ สังเกตการดึงรั้งของหนังตา เปลือกตาตกหรือไม(ptosis) ถ้าพบ อาจมีสาเหตุมาจากกล้ามเนื้อลูกตา
oculomotor nerve หรือ facial nerve เสีย
-
ตาขาว และเยื่อบุตา (sclera and conjunctiva) :
ตรวจด้านบนโดยผู้ตรวจใช้นิ้วหัวแม้มือวางบนเปลือกตาบน แล้วดึงขึ้น ให้ผู้รับบริการเหลือบมองปลายเท่า การตรวจด้านล่าง
ผู้ตรวจวางนิ้วหัวแม้มือบนเปลือกตาล่าง แล้วดึงลงให้ผู่ใช้บริการเหลือบมองขึ้นข่างบน แล้วกลอกตามองซ้ายขวา สังเกตตาขาวยื่อบุตา
ถุงน้ําตา (lacrimal sac) และท่อน้ําตา(lacrimal duct): ดูว่ามีน้ําตาไหลตลอดเวลา มีสิ่งคัดหลั่ง ไหลทางท่อน้ําตา
หรือไม่ สังเกตการบวมของถุงน้ําตา บริเวณหางตา คลําโดยใช้นิ้วหัวแม่มือกดเบาๆที่หัวตาและข้างดั้งจมูกแล้วสังเกตว่ามีสิ่งคัด
หลั่งไหลทางท่อน้ําตาหรือไม
กระจกตา(cornea) : โดยให้ผู้ใ้ช้บริการมองตรง ผู้ตรวจ
ใช้ไฟฉายส่องด้านข้าง แล้วมองกระจกตาทางด้านหน้า ดังภาพที่10 สังเกตความใส และรอยขีดข่วนบนกระจกตา
รูม่านตา (pupil) และแกวตา (lens) : ผู้ตรวจใช้ไฟฉายส่องตรงกลาง สังเกตดูว่ารูม่านตาเป็นวงกลมหรือไม่ รูม่าน
ตาเท่ากันทั้งสองข้างหรือไม่ ปกติรูม่านตาจะมีรูปร่างเป็นวงกลมที่สมมาตร และมีขนาดเท่ากันทั้งสองข้าง ส่วนการตรวจแก้วตา
(lens) ให้มองผ่านรูม่านตา ปกติจะเห็นเป็นสีดําใส ถาพบว่ารู มานตามีลักษณะขุนุน แสดงว่าเป็นต่อกระจก
การตรวจปากและช่องปาก
เหงือกและฟัน : ดูสีอาการบวม บาดแผล การหดร่นของเหงือก เลือดออกว่ามีหรือไม่ สังเกตดูฟัน ว่ามีกี่ซี่ มีฟันผุฟันโยก ฟันปลอม มีหินปูนเกาะหรือไม
-
เยื่อบุปาก : ให้ผู้ใช้บริการเงยหน้า และอ้าปาก ผู้ตรวจใช้ไฟฉายส่องดูและอาจใช้ไม่กดลิ้นช่วย สังเกตดูว่ามีบาดแผลตุ่มหนอง สีซีด หรือไม่ ปกติเยื่อบุปากมีสีชมพูไม่มีแผล
-
-
ทอลซิล และผนังคอ : ให้ผู้ใช้บริการเงยหน้า และอ้า
ปาก ผู้ตรวจใช้ไฟฉายส่องดูและใช้ไม้กดลิ้นช่วย โดยกดไม่กดลิ้นตรงกลาง ใกล้โคนลิ้น
การตรวจคอ
การดู : ดูลักษณะผิวหนังของคอว่ามีผื่น บาดแผล บวมหรือมีก้อนเนื้อ หรือไม่ สังเกตหลอดเลือดบริเวณคอว่าโป่งนูนหรือไม่
-
การคลําหลอดลม ว่าอยู่แนวกลางหรือไม่โดย
ผู้ตรวจอยู่ด้านหน้าของผู้รับบริการ ใช้นิ้วชี้วางที่ตําแหน่ง suprasternal notch แล้วลากเป็นแนวตรง
การคลําต่อมไทรอยด์ด้านหน้า ให้ผู้ใช้บริการเอียงหน้าศีรษะไปด้านที่จะตรวจ และก้มหน้าเล็กน้อย ถ้าตรวจต่อมไทรอยด์กลีบขวา ให้ผู้รับบริการเอียงหน้าศีรษะไปด้านขวา และก้มหน้าเล็กน้อยผู้ตรวจใช้นิ้วหัวแม่มือของมือขวาวางบริเวณหลอดลมคอ ตําแหน่งของต่อไทรอยด์ดันหลอดลมไปทางขวา ใช้นิ้วชี้นิ้วกลาง และนิ้วหัวแม่มือซ่าย คลําต่อมไทรอยด์กลีบขวา
การคลําต่อมไทรอยด์ด้านหลังผู้ตรวจยืนอยู่ด้านหลัง ให้ผู้ใช้บริการเอียงหน้าและศีรษะไปด้านที่จะตรวจ และก้มหน้าเล็กน้อย ผู้ตรวจใช้นิ้วชี้นิ้วกลาง และนิ้วนางข้างซ้ายวางบริเวณหลอดลมคอที่ตําแหน่งของต่อมไทรอยด์ดันหลอดลมไปทางขวา ใช้นิ้วชี้นิ้วกลางนิ้วนางและนิ้วหัวแม้มือด้านขวา คลําต่อมไรอยด์กลีบขวา การตรวจต่อมไทรอยด์กลีบซ้ายก็ทําเช่นเดียวกันแต่สลับด้าน
การตรวจหู
การดู ดูระดับของใบหูปกติขอบใบหูด้านบนจะอยู่แนวเดียวกับระดับตา และเอียงประมาณ 10 องศาในแนวตั้ง ถ้าสูงหรือต่ํากว่าระดับตามักพบในคนที่สติปัญญาอ่อน ดูรูปร่างของใบหูและบริเวณใกล้เคียงว่ามีก่อน ถุงน้ํา หรือตุ่มหนองหรือไม
การดูแก้วหู เมื่อส่องไฟจะพบว่าแก้วหูจะมี
ลักษณะเหมือนกระจกฝ่า สีเทา สะท้อนแสงวาว ถ้พบว่าแก้วหูบุ่ม หรือโป่งออก และช่องหูชั้นนอกมีสีแดง มักเกิดจากการอักเสบของหูชั้นกลาง หรือถ้าเห็นรูโหว่แสดงว่าแก้วหูทะลุ
การคลํา : ผู้ตรวจใช้ปลายนิ้วคลําใบหูเพื่อประเมินว่ามีก้อน กดเจ็บหรือไม่ รายที่สงสัยว่ามีการอักเสบของหูส่วนนอกเมื่อผู้ตรวจจับใบหูหรือติ่งหูให้ขยับ ผู้ใช้บริการจะปวดมาก หรือถ้ากดบริเวณกกหูแล้วปวด แสดงว่ามีการอักเสบของกระดูกมาสตอยด์หรือต่อมน้ําเหลืองหลังหู
การตรวจศีรษะ
การดู
-
-
-
ปกติศีรษะจะต้องสมมาตร ส่วนขนาดจะผันแปรตามวัย
เส้นผมต้องไม่แห้งกรอบ หรือขาดง่าย หากพบอาจบอกถึงภาวะทุพโภชนาการ การติดเชื้อราบนหนังศีรษะ จะพบการหลุดร่วงเป็นหย่อมๆของเส้นผม หนังศีรษะมีขุย หรือรังแค
การคลํา
ผู้ตรวจยืนด้านหน้าของผู้ใช้บริการ ใช้ปลายนิ้วชี้
นิ้วกลาง และนิ้วนาง คลําวนเบาๆให้ทั่วศีรษะ โดยเริ่มจาก
ด้านหน้า ไล่ไปจนทั่วถึงท้ายทอย อาจคลําต่อมน้ําเหลืองบริเวณ
ท้ายทอย (Occipital lymph node) ด้วย ในเด็กควรคลําดูรอยต่อของกระดูกกะโหลกศีรษะ (sagital suture) ว่าแยกห่างจากกันหรือเกยซ้อนกัน หรือกระหมอมยุบลงไปหรือไม่ปกติจะคลําไม่พบก่อน ไม่พบต่อมน้ําเหลือง
การตรวจใบหน้า
การดู
สังเกตความสมมาตรของใบหน้า ความสมดุลของ
อวัยวะบนใบหน้า ได้แก่ ตา จมูก ปาก ลักษณะของผิวหน้า
อาการบวม รอยโรค ตุ่ม ผื่น การแสดงออกของใบหน้า สังเกตร่องแก้ม (nasolabial fold)
-
ภาวะผิดปกติ
-
แก้มป่อง ผิวหน้าแดง พบในผู้ป่วยที่ใช้ส
เตียรอยด์เป็นเวลานาน หรือพบผื่นแดงบริเวณข้างปากจมูกทั้งสอง
ที่เรียกว่า malar rash
-
การคลํา
คลําหาตําแหน่งหรือก่อนบนหน้า และคลําเพื่อตรวจ
ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อที่ใช้เคี้ยวอาหาร masticatory
muscle ซึ่งประกอบด้วยกล้ามเนื้อมัดใหญ่3 มัด
กล้ามเนื้อ massector
อยู่ทางด้านข้างของกระดูกขากรรไกรล่างโดยทอดตัว
จากบริเวณกระดูกโหนกแก้ม ไปยังมุมของขากรรไกรล่าง ทํา
หน้าที่ยกขากรรไกรล่างขึ้น ตรวจโดยใหัผ้ใช้บริการกัดฟันแนัน
ผู้ตรวจเอามือคลําที่แก้มบริเวณฟันกรามทั้งสองข้าง
กล้ามเนื้อ pterygoid
เป็นกล้ามเนื้อที่ทอดตัวในแนวนอน บริเวณส่วนกลางของขากรรไกรล่าง ทําหน้าที่อ้าปากและยื่นขากรรไกรล่าง การตรวจโดยให้ผู้ใช้บริการอ้าปากเต็มที่ผู้ตรวจใช้มือดันคางขึ้น อีกมือกดศีรษะลงเพื่อให้หุบปาก
กล้ามเนื้อ temporalis
กล้ามเนื้อรูปพัด อยู่บริเวณแอ่งของกระดูกขมับทั้งสองข้าง ทําหน้าที่ยกขากรรไกรล่างขึ้น ซึ่งตรวจโดยให้ผู้ใช้บริการกัดฟันแน้น ผู้ตรวจเอามือคลํา
ที่ขมับทั้งสองข้าง
การตรวจจมูก และโพรงไซนัส
การดู: ดูรูปร่างลักษณะภายนอกว่าบิดเบี้ยวผู้ใช้บริการเงยหน้าขึ้น ผู้ตรวจใช้นิ้วหัวแม่มือข้างที่ไมถนัดแตะที่ยอดจมูก แล้วดันขึ้น หรือใช้เครื่องถางจมูก(Nasal speculum) ถ้างให้เห็นภายในช่องจมูกได้ชัดเจนขึ้น ใช้มือข้างที่ถนัดถือไฟฉาย หรือ otoscope ส่องเข้าไปในรูจมูก สังเกตดูเยื่อบุจมูกว่าบวมแดง
การคลํา หรือเคาะ: โพรงไซนัสที่สามารถตรวจจาก
ภายนอกได้คือ frontal sinus อยู่บริเวณหัวคิ้วทั้งสองข้าง และmaxillary sinus อยู่บริเวณปากจมูก ผู้ตรวจใช้วหัวแม่มือกดหรือใช้นิ้วเคาะบริเวณโพรงไซนัส