Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทบาทพยาบาลในการดูแลรักษาและฟื้นฟูสภาพผู้ที่มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช…
บทบาทพยาบาลในการดูแลรักษาและฟื้นฟูสภาพผู้ที่มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช (การบำบัดรักษาด้านร่างกาย)
จิตเภสัชบําบัดและการใช้ยาอย่างสมเหตุผล
ยารักษาโรคจิต (Antipsychotic drugs )
Phenothiazine derivatives
ฤทธิ์ทั่วไป : ง่วง ระงับอาการอาเจียน ปากเเห้ง คอเเห้ง ความคิดเชื่องช้า
ที่ใช้บ่อย
antihistamine
chlorpromazine
Promethazine
Trifluoperazine
Thioridazine
perphenazine
Fluphenazing
ยาจิตบําบัดชนิดใหม
Clozapine
ผลดีทั้ง อาการทางด้านบวกและอาการทางด้านลบ พบ EPS น้อย
ADR : Granulocytopenia, ง่วง น้ำลายมาก,เกิด EPSน้อยมีอาการทางระบบประสาท เช่น ปากแห้ง ตาพร่า หัวใจเต้นเร็ว ความดันโลหิตต่ำ คลื่นไส้ อาเจียน ท้องผูก
Risperidone
ADR : Granulocytopenia, ง่วง น้ำลายมาก,เกิด EPSซึ่งมีประสิทธิภาพเท่า Haloperidol แต่ต้องให้ขนาดปานกลาง (4-10 มก/วัน )ทําให้เกิดผลข้างเคียง Extrapyramidal effects น้อยกว่า Haloperidol อาการข้างเคียงอย่างอื่น คือน้ำหนักเพิ่มและความดันโลหิตต่ำเวลายืน
Butyrophenone derivatives
ใช้ได้ผลดีในการควบคุมอาการตื่นเต้นก้าวร้าวประสาทหลอน หลงผิด หวาดระแวง
ฤทธิ์ข้างเคียงที่สําคัญ EPS
อาการข้างเคียง
ฤทธิ์ตอระบบประสาท
Extrapyramidal symptom
Parkinsonian-like syndrome
มือสั่นขณะพัก ตัวเเข็ง เดินชา
Akathesiaนั่งหรือยืนไม่ติดที่ ย่ำเท้า กระสับกระส่าย
Acute dystonia reaction
ตาเหลือก คอเเข็งเกร็งบิด
Tardive dyskinesia
เคี้ยวปาก ดูดริมฝีปาก เเลบลิ้น
Antiparkinsonism drugs
ใช้ป้องกัน EPS ของยา Antipsychotic drugs
1 Anticholinergic :Benztropine (Cogentin) Trihexyphenidyl hydrochloride (Artain, Aca, Benzhexal)
2) Antihistamine Diphenhydramine (benadryl)
ยาควบคุมอารมณ์(Mood-stabilizing drug)
Lithium carbonate เป็นยาหลักที่ใช้
อาการข้างเคียงเเละการช่วยเหลือ
หัวใจล้มเหลว,ความดันโลหิตต่ำ,ไข้สูง ,coma,ไตล้มเหลว>>หยุดยา ตรวจหาลิเธยีมทุก 3 ชั่วโมงเเละอาจทําHemodialysis
มีN/Vเเละท้องเสียเพิ่มมากขึ้น ชัก สับสน หมดสติหัวใจเต้นผิดจังหวะ>>หยุดยา ให้IVF,ล้างท้อง,ช่วยเหลือตามอาการ
มีN/V สัน' พูดไม่ชัด>>ดื่มน้ำมากๆ V/S เจาะเลือด
มือสั่น กระหายน้ำ ท้องเสีย ปัสสาวะบ่อย>>ดื่ม ors ระวังเสียเหงื่อ
ยาคลายกังวล (Anxiolytic, Antianxiety drug
ยาที่สําคัญ : Benzodiazepines มีฤทธิ์ Anti anxiety, Anti aggression,Muscle relaxant, Anti convulsant และ Sedative ออกฤทธิ์โดยเพิ่ม GABA ergic neurotransmission มีฤทธิ์คลายกังวลดีที่สุด
ข้อบ่งชี้: วิตกกังวล, เครียด พิษสุราเรื้อรัง อาการ Akathesia
มือสั่นจากยา lithium,พฤติกรรมก้าวร้าวรุนเเรง
ยารักษาอาการซึมเศร้า(Antidepressant drugs)
Conventional antidepressant
Monoamine Oxidase inhibitors (MAOI)
งดอาหารที่เกิดจากการหมักเป็นเหล้า (Ferment) เช่นเบียร์หรือพวกเนย
ซึ่งอาจทําให้เกิด Acute hypertensive crisis และเสียชีวิตได้
มีฤทธิ์ไปยับยั้งการทํางานของเอ็นไซม์ MAO ที่ทําให้ระดับของ Serotonin และ Catecholamine
Tricyclic antidepressants
นิยมใช้กันมากลดอาการซึมเศร้าโดยไปเพิ่มระดับของ Nor-epinephrine และ serotonin
ADR: ปากเเห้ง ตาพร่า ง่วงนอน ท้องผูก หัวใจเต้นเร็ว ความดันโลหิต ต่ำเมื่อเปลี่ยนอิริยาบถ
Secondary generation antidepressants
Tetracyclic antidepressants
ห้ามใช้กับผู้ที่เป็นโรคตับ ต่อมลูกหมากโต ต้อหิน ปัญหาเกี่ยวกับทางเดินปัสสาวะ น้ำหนักลด โรคเบาหวาน หญิงตั้งครรภ์เดือนแรกและหญิงให้นมบุตร
Serotonin Reuptake Inhibitors
ที่นํามาใช้ในปัจจุบันมี4 ชนิด คือ Fluoxetine,Paroxetine,Sertraline และFluvoxamine
Bicyclic antidepressants
ใช้ในผู้ป่วยซึมเศร้าได้ผลพอๆ กับ amitriptyline และImipramin
อาการที่ไม่พึงประสงค์ที่พบบ่อย คือ คลื่นไส้ อาเจียน ปวดศีรษะ ปากแห้ง ใจสั่นท้องผูก ปัสสาวะลําบากแต่น้อยกว่ากลุ่ม TCAse
การรักษาด้วยไฟฟ้า
การพยาบาล
-จัดให้ผู้ป่วยนอนหงายราบบนเตียงใช้หมอนทรายวางไว้ที่ขั้นเอวและไหล่เพื่อป้องกันกระดูกสันหลังเคลื่อน
-จัดท่าให้อยู่ในลักษณะเหงนหน้าใหทางเดินหายใจโล่งโดยใช้มือซ้ายรองบรเิวณตนคอ
-ตรวจดูฟันปลอม ใช้Mouth guard ให้ผู้ป่วยกัด
-ใช้Electrodes จุ่มสารละลาย Electrolyte วางไว้บนขมับ
-จัดเจ้าหน้าที่ประกับประคองตามจุดท่ี่อาจเกิดการแตกหัก คือไหล่ ข้อมือ ข้อเข่าและข้อเท้า
-บอกให้ผู้ป่วยหลับตาและให้สัญญาณแพทยเ์เพื่อปล่อยกระแสไฟฟ้า
-สังเกตการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วยขณะชัก การหายใจและการไหลเวียนของโลหิต
-จับหน้าผู้ป่วยให้นอนตะแคงหน้าด้านใดด้านหนึ่ง
ข้อบ่งชี้
Schizophrenia โดยเฉพาะ catatonic type
Schizoa efective disorde
Affective /Mood disorders
Manic episode
ถ้าผู้ป่วย มีอาการรุนแรงมาก
Affective /Mood disorders
โดยเฉพาะผู้ป่วยที่มีอารมณ์เศร้าอย่างมากถึงขนาดคิดฆ่าตัวตายหรือผู้ป่วยที่มีอาการรุนแรงมาก
Obsessive compulsive disorde
อาการของคนไข้รุนแรง จนรบกวนผู้ป่วยมาก
ให้การรักษาด้วยวิธิต่างๆ แล้วอาการไม่ดีขึ้น
ข้อห้าม
โรคความดันโลหิตสูงอย่างรุนแรง
โรคกระดูกสันหลัง เช่น vertibral osteoperosis หรือ
vertibral fracture
ผู้ป่วยที่มีปัญหาของระบบหัวใจ
และหลอดเลือดอย่างมาก
วัณโรคระยะรุนแรง
เนื้องอกในสมอง
การติดเชื้อที่มีไข้สูง
การผูกยึดและการจํากัดพฤติกรรม
ขั้นตอนการทํา
บอกให้ผู้ป่วยทราบว่าจะช่วยเหลือเขาโดยการจํากัดสถานที
จับผู้ป่วยด้วยความนิ่มนวล พร้อมเพรียงและรวดเร็ว
วางแผนให้รอบคอบว่าจะหยุดพฤติกรรมผู้ป่วยแบบใด
ใครมีหน้าที่ช่วยเหลือในครั้งนี้บ้าง ต้องใช้ความพร้อมเพรียงและความรวดเร็ว
อยู่เป็นเพื่อนระยะหนึ่งเพื่อให้ผู้ป่วยเกิดการเรียนรู้ว่า่ไม่ใช้การทําโทษแต่เป็นการช่วยเหลืออย่างหนึ่งให้สัญญาว่าจะมาเยี่ยมอีก
เยี่ยมผู้ป่วยเป็นระยะ
เพื่อประเมินดูว่าเขาสามารถควบคุมตนเองได้แล้วหรือยัง
กรณีผู้ป่วยหลังให้ยาต้องทดสอบอาการรู้สึกตัวก่อนจึงจะแก้มัดได้
การพยาบาล
-ทีมผู้รักษาจะต้องมีทัศนคติที่ดีต่อผู้ป่วยมีความสม่ำเสมอทั้งคําพูดและท่าทาง
-ให้ความนับถือผู้ป่วยในฐานะบุคคลหนึ่งควรบอกผู้ป่วยทุกครั้งที่จะจํากัดพฤติกรรม ระยะเวลาและพฤติกรรมที่จะจํากัด
-การจํากัดพฤติกรรมควรใช้คำพูดก่อน ถ้าไม่ได้ผลจึงจะใช้วิธีผูกมัดและจํากัดบรเิวณ
-ขณะที่ควบคุมผู้ป่วย พยาบาลต้องไม่พูดหรือแสดงกิริยาดูถูกว่าผู้ป่วยพูดไม่รู้เรื่อง
-ดูแลผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด ไม่ทอดทิ้งให้อยู่คนเดียวไม่ให้ผู้ป่วยรูรู้สึกว่าถูกลงโทษ