Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Health Assessment (การประเมินภาวะสุขภาพ) HEENT, image, image, image,…
Health Assessment
(การประเมินภาวะสุขภาพ) HEENT
เทคนิคการใช้ตรวจร่างกาย
การเคาะ (Percussion)
การดู (Inspection)
การฟัง (Auscultation)
การคลำ (Palpation)
การตรวจใบหน้า
การดู:ความสมมาตร Symmetrical ไม่มีอาการกล้ามเนื้อใบหน้าอ่อนแรง (No muscle weakness) ไม่มีอาการ Cushing syndrome (moon face) , Dow's syndrom , Pakinson (Mask face)
การคลำ: เมื่อกดไซนัสไม่มีอาการกดเจ็บ
(No tenderness of both sinus) Frontal and maxilary sinus
การตรวจจมูก
การคลำ:ดูสิ่งคัดหลั่งที่ออกมาจากรูจมูก อาจมีขี้มูกเล็กน้อยเป็นปกติ (Mild rthinorrhea) สิ่งคัดหลั่ง Watery mucuous , no other discharge or blood , mucosa mild , เยื่อจมูกไม่บวม , ไม่เบี้ยว , ลมหายใจไม่มีกลิ่นแอลกอฮอลล์
การดู: ดูความสมมาตรของจมูกทั้ง 2 ข้าง สังเกตการหายใจว่าปีกจมูกทั้ง 2 ข้าง ตีบหรือบานผิดปกติหรือไม่
ตรวจโพรงจมูก = คลำบริเวณ frontal and maxillary
ดูภายนอก มีขยายของปีกจมูก (Ala nasi) = ดูสันจมูก
ดูภายใน เปิดปลายจมูกด้วยนิ้วโป้ง ใช้ไฟฉายส่อง Vestibule nasal septum , turbinate ว่าบวม แดง ซีด มีริดสีดวงจมูก มีน้ำมูกหรือไม่
การตรวจคอหอย
การคลำ:ดูสีของผนังคอหอยว่ามีสีแดงหรืออักเสบหรือไม่ Mildninjected ไม่มีแผล no lesion ดูต่อมทอนซิลว่าบวมถึงระดับใด ถึงลิ้นไก่ แดง , อักเสบหรือไม่ (Tonsil mild Enlarged and injected), Uvula rises in mildline on pronation
การตรวจหู
เครื่องมือ : Otoscope
การดู: ดูความเท่ากันของใบหูทั้ง 2 ข้าง ดูว่ามีก้อนผิดปกติหรือไม่
การคลำ: คลำปุ่มหลังหูว่ากดเจ็บหรือมีการอักเสบหรือไม่ สังเกตสิ่งคัดหลั่งหลังในรูหู อาจพบขี้หูเล็กน้อย ถือว่าปกติ สีของเยื่อแก้วหูมีสีเทา , เยื่อแก้วไม่ทะลุ
ใบหู : ดูและคลำ ตำแหน่งรูปร่าง สิ่งผิดปกติ เช่น ก้อนไขมัน ถุงน้ำ ฝี
รูหู = ปกติรูหูยาว 1 นิ้ว ในผู้ใหญ่ดึงใบหูแล้วเฉียงขึ้นด้านหลัง ดูว่ามีขี้หู มีแผล มีฝี หรือไม่
เยื่อแก้วหู : ตรวจว่ามีสีอะไร มีรอยแผล มีการดึงรั้ง รูหูทะลุไหม ถ้าส่องไฟจะเห็น light reflex อยู่ส่วนล่างแก้วหู
ตรวจเส้นประสาทคู่ที่ 8 การฟังเสียงนาฬิกา กระซิบหน้าหู สั่นส้อม เสียงหลังหู สั่นส้อมเสียงหน้าผาก
การตรวจคอ
การตรวจต่อมน้ำเหลือง
ดูและคลำ ขนาด ตำแหน่ง ความนุ่ม ความแข็ง การยึดติดกับเนื้อเยื่อข้างเคียง และอาการเจ้บ ต้องตรวจทุกส่วนตั้งแต่ศีรษะถึงแขนขา
ถ้าพบขนาด 1 ซม. แสดงว่าตอมน้ำเหลืองโต เรียกว่า Lymphadenopathy
การคลำต่อมไทรอยด์
สังเกตบริเวณตำแหน่งต่อมว่ามีขนาด รูปร่างอย่างไร กลืนน้ำลายให้เห็นเพื่อจะได้เห็นชัด ๆ ถ้าต่อมโตจะโตกว่าปกติ 3-5 เท่า
การตรวจหลอดลม
ใช้การคลำ ก้มศีรษะเล็กน้อย ให้ sterncleidomastiod หย่อนตัว ใช้นิ้วข้างที่ถนัดแยงที่ suprasternal notch จะนุ่มๆตรงกลาง
การฟังเสียงหลอดลม จะได้เสียง wheeze
หลอดลเอียง Trachea deviated = อาจมีน้ำในปอดหรือลม หากปอดแฟบ หลอดลมจะเอียงไปด้านที่ปอดแฟบ
การตรวจศีรษะ
การดู: ดูรูปร่างของศีรษะว่าผมทั้ง 2 ข้างหรือไม่ กระโหลกศีรษะไม่บวมโต ไม่บิดเบี้ยวผิดรูปร่าง
การคลำ: คลำก้อนบนศีรษะ มีก้อน กดเจ็บ หรือมีแผล
Butterfly rash = ผื่นแดงขึ้นบนหน้า
ดูรูปร่าง ลักษณะผม คลำพบก้อน กดแล้วเจ็บไหม มีเสียง Bruit หรือไม่
Down's syndrome = หน้าแบน หัวเล็ก หูเล็กและบิดผิดรูปร่าง ปากเล็ก ตาเรียว หางตาเฉียงขึ้น
ตรวจดูความผิดปกติของการเคลื่อนไหวกล้ามเนื้อ เช่น กัดฟัน ย่นหน้าผาก ให้เลิกคิ้ว ปากจู๋ ยิงตา เป่าลมให้แก้มโป้ง
การตรวจผม
ผมสั้น/ผมยาว
Alopecia = ผมร่วง
Dandruff = รังแค
Nits = เหา
การตรวจตา
ตา
ต่อมน้ำตา
มีการอักเสบของท่อน้ำตา ดูจะมีอาการบวมหัวตาและดั้งจมูก ถ้ากดอาจได้หนอง
เยื่อบุตา
ต้องตรวจส่วนที่คลุมเปลือกตาด้านใน อาจมีก้อน สีผิดปกติ ส่วนที่คลุมตาขวาว่า ซีดหรือแดง
กระจกตา
ปกติเรียบ ใส มีขอบสีขาวรอบ ๆ พบในผู้สูงอายุ
เลนส์
ใส สะท้อนกับไฟฉาย
ตาขาว
เหลืองหรือไม่
ช่องหน้าม่านตา
สังเกตดูความลึก มีเลือด มีหนอง หรือน้ำ aqueous humor ขุ่นหรือไม่
ม่านตา
บ่งบอกเชื้อชาติ จะมีสีดำ น้ำตาล ฟ้า เขียว แต่สีเท่ากันทั้ง 2 ข้าง
รูม่านตา
ดูสี ขนาด ตำแหน่ง รูปร่าง ปฏิกิริยา ต่อแสงและ consensual light reflex
ตรวจ accommodation
ผู้ถูกตรวจมองที่ปลายนิ้ว หรือปลายดินสอ ห่างประมาณ 2 นิ้ว จากนนั้นผู้ตรวจค่อย ๆ เคลื่อนปลายนิ้วหรือปลายดินสอเข้าดั้งจมูก
จะพบว่าตาดำเคลื่อนเข้าหากันและรูม่านตาหดเล็กน้อย
ถ้าไม่เห็นแสดงว่าอาจเกิดจากความผิดปกติของเส้นประสาทคู่ที่ 3 4 6
การเคลื่อนไหวของลูกตา
ดูการเคลื่อนไหวของลูกตา 6 ทิศทาง ได้แก่ ขวา = ขวาบน ขวาล่าง ซ้าย = ซ้ายบน ซ้ายล่าง ให้ผู้ตรวจมองตามนิ้วของผู้ตรวจ สังเกตว่าตาของผู้ถูกตรวจเคลื่อนไหวเป็นอย่างไร
ตรวจ visual eye field
ผู้ตรวจกับผู้ถูกตรวจนั่งห่างกันประมาณ 2 ฟุต ให้ผู้ถุกตรวจมองที่ปลายจมูกของผู้ตวรจ ผู้ตรวจยื่นมือไปสุดแขน จากนั้นค่อย ๆ กระดิกนิ้วมาจนกระทั่งผู้ตรวจเห็น
การตวรจช่องปาก
เครื่องมือที่ใช้ตรวจไฟฉาย ไม้กดลิ้น
การดู: ดูสีผิวริมฝีปากว่าซีดหรือไม่ ไม่มีแผลปากแตกหรือร้อนใน ดูว่าริมฝีปากตกไปด้านในด้านหนึ่งหรือไม่ที่แสดงถึงกล้ามเนื้ออ่อนแรง
การคลำ : ดูสีของเยื่อบุกระพุ้งแก้มและเหงือก ดูรอยโรค ดูเหงือกว่าอักเสบหรือมีเลือดออกไหม ดูฟันว่าผุหรือไม่
การตวรจเล็บ
Onycholysis = พบในเล็บเป็นเชื้อรา หรือผู้ป่วยโรคสะเก็ตเงิน
ส่วนปลายเล็บปกติทำมุม 160 องศา
Clubbing finger / Digital clubbing = นิ้วปุ่ม
Spoon nail = เล็บรูปช้อน
การตรวจผิวหนังและเล็บ
ตรวจผมด้วยการคลำ ผมสั้น/ผมยาว หยาบ/ละเอียด ไม่มีรังแค ไม่มีเหา ไม่มีแผลที่หนังศีรษะ
การดูเล็บ เล้บซีด นิ้มปุ้ม เชื้อราที่เล็บ เล็บช้อน
ใช้การดูผิวหนัง Skin color ดูว่าเขียว ซีด ผื่น หรือจ้ำเลือด เหลือง
การคลำ : ความดึงตัวของผิวหนัง ผิวสัมผัส รอยโรค
ภาวะบวม