Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การวิจารณ์วรรณกรรมเบื้องต้น - Coggle Diagram
การวิจารณ์วรรณกรรมเบื้องต้น
ประวัติและพัฒนาการของการวิจารณ์วรรณกรรม
การวิจารณ์ในยุคเริ่มต้น (พ.ศ. 2419 - 2475)
เรื่มขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
การวิจารณ์จำกัดในแวดวงผู้ที่มีความรู้
ก่อตั้งวรรณคดีสโมสร มีการวิจารณ์มากขึ้น
พ.ศ. 2475 เริ่มมีการวิจารณ์วรรณกรรมอย่างเป็นกิจลักษณะ
ส่ง เทภาสิต พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์ เริ่มมีการเผยแพร่บท
วิจารณ์ตามหน้าหนังสือพิมพ์เป็นครั้งคราว
การวิจารณ์วรรณกรรมในยุคที่2 (พ.ศ.2476 - 2490)
มีการพัฒนามากขึ้นจาก พ.ศ. 2480
มีการสอนวิชาวรรณคดีวิจารณ์ในสถาบันการศึกษา
รับเอาแบบอย่างการวิจารณ์ตามแบบตะวันตก
วรรณกรรมมีการเคลื่อนไหวมากขึ้น
การวิจารณ์วรรณกรรมในยุคที่3 (พ.ศ.2491 - 2501)
นักวิจารณ์กลุ่มความคิด ศิลปะเพื่อชีวิต มีบทบาทอย่างมาก
การวิจารณ์เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม
เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหวทางการเมืองของปัญญาชนฝ่ายสังคมนิยมอย่างชัดเจน
นักวิจารณ์ที่มีบทบาทอย่างมากคือ อัศนี พลจันทร์ บรรจง บรรเจิดศิลป์
นักวิจารณ์เกิดการหยุดชะงักลง
อย่างสิ้นเชิง เนื่องจากนโยบายของรัฐบาล
การวิจารณ์วรรณกรรมในยุคที่4 (พ.ศ.2502 - 2515)
เริ่มมีการฟื้นตัว พร้อมกับนักวิจารณ์รุ่นใหม่จำนวนมาก
ได้รับการสนับสนุนจากนิตยสารหลายฉบับ
นำเอาวรรณคดีวิจารณ์แผนใหม่จากตะวันตกเข้ามาวิจารณ์
วรรณคดีไทย
การวิจารณ์คุณภาพทางด้านปัญญามากกว่าความบันเทิงใจ
บางกลุ่มเริ่มนำแนวคิดศิลปะเพื่อชีวิตมาเผยแพร่
การวิจารณ์วรรณกรรมในยุคที่5 (พ.ศ.2516 - 2519)
การวิจารณ์วรรณกรรมมีการขยายตัวมากที่สุดกว่ายุคอื่นๆ
การวิจารณ์แนวมาร์กซิสมีความเฟื่องฟูถึงขีดสุด
ก่อน 14 ตุลาคม 2516 เป็นระยะที่นักวิจารณ์รุ่นใหม่ฟื้นฟู
แนวคิดศิลปะเพื่อชีวิตมาเป็นแนว
การวิจารณ์อย่างจริงจัง หลังจาก 14 ตุลาคม 2516
การวิจารณ์มีความคึกคักและเต็มไปด้วยความขัดแย้ง ระหว่างกลุ่มสังคมนิยมกับกลุ่มอนุรักษ์นิยม
การวิจารณ์วรรณกรรมในยุคที่6 (พ.ศ.2520 - 2544)
่การวิจารณ์แนวคิดศิลปะเพื่อชีวิต แนวมาร์กซิสต์เริ่มอ่อนตัวลง
การวิจารณ์วรรณกรรมจึงได้พัฒนำไปสู่ความมีศิลปะที่เป็นสากลมากขึ้น
เข้าสู่ยุคโลกำภิวัตน์หรือยุคโลกไร้พรมแดน
มุ่งเน้นไปสู่ความเป็นมนุษย์นิยม ประสบปัญหาใหม่ๆทางเทคโนยีกับชีวิต
ประโยชน์ของการวิจารณ์วรรณกรรม
ช่วยให้ความรู้ และแง่คิดในมุมมองต่างๆที่เกี่ยวกับวรรณกรรม
ช่วยเป็นแนวทางในการเลือกอ่านวรรณกรรมให้กับผู้สนใจ
ช่วยคัดกรองวรรณกรรมที่จะถูกส่งต่อจากรุ่นสู่รุ่นของผู้อ่าน
ช่วยให้ผู้ประพันธ์ได้เข้าใจมุมมองในข้อดีและข้อด้อยของผลงานผ่านมุมมองของผู้รู้ด้วยหลักการที่น่าเชื่อถือ
ช่วยให้ผู้ประพันธ์มีความรอบคอบในการสร้างสรรค์
ลักษณะของนักวิจารณ์วรรณกรรมที่ดี
ผู้วิจารณ์ต้องมีความรู้เกี่ยวกับวรรณกรรมเป็นอย่างดี
ความรู้ของรูปแบบวรรณกรรม
ความรู้ด้านการใช้ภาษา
ความรู้ด้านองค์ประกอบเกี่ยวกับวรรณกรรม
ผู้วิจารณ์ต้องเป็นผู้ที่มีความซื่อตรงในการวิจารณ์
วิจารณ์ด้วยหลักการและมุมมองเป็นกลาง
ผู้วิจารณ์ควรพิจารณาด้วยพื้นฐานแห่งความมุ่งเน้นให้เกิดการพัฒนา
ผู้วิจารณ์เป็นผู้ที่ค้นหาความรู้ใหม่ ทันยุค ทันสมัย
ผู้วิจารณ์ควรใช้ภาษาพูดหรือเขียนในการวิจารณ์ด้วยความชัดเจน
แนวการวิจารณ์วรรณกรรมสำหรับเด็กปฐมวัย
เนื้อหาของวรรณกรรมต้องมีความเหมาะสมกับวัย
คุณค่าทางวรรณกรรม
ความปราณีตของถ้อยคำมีความเหมาะสมกับเนื้อหา
เด็กได้รับผลทางอารมณ์จากวรรณกรรม
เด็กเกิดจินตนาการสร้างภาพในความคิดได้
คุณค่าทางสังคม
เด็กสามารถนำแนวคิดไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้
มีแก่นเรื่องหรือวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน
วรรณกรรมต้องมีความคิดรวบยอดเพียงอย่างเดียว
วรรณกรรมมีรูปแบบที่ชัดเจน
มีการเข้าเล่มที่แข็งแรง ไม่ขาดง่าย และปกหนังสือควรใช้กระดาษหน้าทำเพื่อความแข็งแรงทนทาน
สำนวนการใช้ภาษาต้องเป็นภาษาที่ง่ายและการใช้คำต้องถูกต้องตามหลักของภาษา
ภาพประกอบที่ใช้ในวรรณกรรมใช้ได้หลากหลายวิธี
ภาพวาด
ภาพถ่าย
ภาพตัดปะ
ขนาดตัวอักษรและขนาดเล่มควรมีความเหมาะสมกับวัยของเด็ก
ตัวอักษรควรใช้ที่ 20-30 พอยท์
ตัวอักษรต้องอ่านง่าย
มีจำนวนหน้าที่เหมาะสมกับเด็ก
จำนวน 8 หน้าสำหรับเด็ก
จำนวน 8-16 หน้า สำหรับเด็ก 2-4ปี
จำนวน 16-32 หน้า สำหรับเด็ก 5-6 ปี
รูปเล่ม
มีการเข้าเทพที่แข็งแรงไม่ขาดง่าย
ปกหนังสือควรใช้กระดาษทำเพื่อความแข็งแรงทนทาน
ความหมายของการวิจารณ์วรรณกรรม
การนำความรู้ หลักการที่ถูกต้องมาพิจารณาแสดงความคิดเห็น และกล่าวถึงวรรณกรรมแต่ละชิ้น เพื่อให้เกิดประโยชน์ในการสร้างสรรค์วรรณกรรมให้มีคุณค่า จะส่งผลที่ดีต่อผู้อ่าน และผู้ประพันธ์