Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบทางเดินหายใจ และครอบครัว, นางสาวธัญพิชชา…
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบทางเดินหายใจ และครอบครัว
โรคติดเชื้อระบบทางเดินหายใจส่วนบน
โรคหวัด
คออักเสบ (Pharyngitis)
การติดเชื้อและมีการอักเสบบริเวณคอหอย อาจมีต่อมทอนซิลอักเสบร่วมด้วย(pharyngotonsillitis)
group A beta hemolytic streptococcus
มีอาการเกิดรวดเร็ว โดยมีอาการไข้สูงและเจ็บคอนำมาก่อน
เชื้อไวรัส
มีอาการค่อย ๆ เพิ่มขึ้น โดยมักจะมีน้ำมูก ไข้ อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร เจ็บคอ อาจมีอาการปวดศีรษะ
ภาวะแทรกซ้อน
ไตอักเสบเฉียบพลัน ไข้รูมาติกได ไซนัสอักเสบ หูชั้นกลางอักเสบ เยื่อหุ้มสมองอักเสบ
ต่อมทอนซิลอักเสบ (Tonsillitis)
group A beta hemolytic streptococcus มักพบในเด็กวัยเรียน
พบลิ้นเป็นฝ้า คออักเสบแดง ต่อมทอนซิลโตแดงมีหนองปกคลุม มักพบต่อมน้ำเหลืองบริเวณคอโต และกดเจ็บ
หลักการพยาบาล
รักษาความสะอาดในช่องปาก ทานอาหารอ่อน รสไม่จัด ย่อยง่าย
หูชั้นกลางอักเสบเฉียบพลัน (Acute otitis media)
อาการและอาการแสดง
อย่างรวดเร็ว ระยะเวลาที่เป็นไม่เกิน 3 สัปดาห์
pneumatic otoscope พบเยื่อแก้วหูบวมแดง สีขุ่นทึบ โป่งนูน หากมีเยื่อแก้วหู ทะลุจะเห็นหนองขังอยู่ในรูหู
ยาที่ใช้รักษา เช่น เอมอกซี่ซิลลินนาน 10-14 วัน
การป้องกัน
เลี้ยงบุตรด้วยนมมารดา
ป้องกันเด็กไม่ให้เป็นหวัด
หลีกเลี่ยงควันบุหรี่
ควรจัดท่านั่งหรือศีรษะสูงขณะให้นมเด็ก และไม่ควรให้เด็กดูดนมขณะหลับ เพราะอาจทำให้นมไหลเข้าสู่หูชั้นกลางได
โรคติดเชื้อระบบทางเดินหายใจส่วนล่าง
กลุ่มอาการครู๊ป (Croups)
เป็นกลุ่มอาการที่มีเสียงแหบ ไอเสียงก้อง (barking หรือ brassy cough)
พบมากช่วงอายุ 3 เดือน ถึง 4 ปี พบมากที่สุดเมื่ออายุ 18 เดือน
การอักเสบบริเวณกล่องเสียงซึ่งเกิดจากการติดเชื้อที่ glottis และ subglottic ทำให้เกิดการบวม และมีเสมหะเหนียว ทำให้เกิดการอุดกั้นของทางเดินหายใจส่วนบนได้ง่าย
ภาวะแทรกซ้อน
โรคหูชั้นกลางอักเสบ
หลอดลมคออักเสบจากเชื้อแบคทีเรีย
โรคปอดบวม
หลักการพยาบาล
ลดการหดเกร็งของกล่องเสียง ให้เด็กได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
หลอดลมอักเสบ (Bronchitis)
มักเกิดจากเชื้อไวรัสและมีอาการไอ และจะดีขึ้นในเวลา 3 สัปดาห์โดยไม่ได้รับการรักษา
อาการและอาการแสดง
ไข้ น้ำมูกไหล ไอ ต่อมาไอแห้ง ๆบ่อย ๆ รุนแรงขึ้น ไอมีเสมหะ อาจมีหลอดลมหดเกร็งร่วมด้วย เด็กโตจะบ่นเจ็บที่หน้าอก
การตรวจร่างกาย
ฟังปอดได้ยินเสียงผิดปกติในระยะที่เริ่มมีอาการไอ โดยได้ยินเสียง rhonchi, whezzingและ coarse crepitation เสียงหายใจดังผิดปกติ
หลอดลมฝอยอักเสบ (Bronchiolitis)
มักเกิดในเด็กอายุต่ำกว่า 2 ปี พบมากในอายุ 2-5 เดือน และมักทำให้เกิดอาการรุนแรง
เยื่อบุชั้น mucosa ของหลอดลมฝอยบวม มีการสร้างสารคัดหลั่งเพิ่มมากขึ้น มีการหนาตัวของผนังหลอดลมฝอย ทำให้เกิดการอุดกั้นทางเดินหายใจขณะหายใจออก
การตรวจร่างกาย
หายใจเร็ว หายใจลำบาก ปีกจมูกบาน มีหน้าอกบุ๋ม
ทรวงอกโป่งเนื่องจากมีลมค้างอยู่ในถุงลมปอด เคาะปอดได้ยินเสียงโปร่งมากกว่าปกติ
เสียงหายใจเข้าจะค่อยกว่าปกติ เสียงหายใจออกยาวกว่าปกติ ฟังได้เสียงวี๊ด และ fine crepitation
ปอดบวม (Pneumonia)
อาการและอาการแสดง
จากเชื้อไวรัสและแบคทีเรีย
ไข้หวัด ปอดบวมจากเชื้อไวรัสมักมีไข้ต่ำกว่าจากเชื้อแบคทีเรีย
จากเชื้อแบคทีเรีย
อาการหนาวสั่นภายหลังไข้สูง ไอ เจ็บหน้าอก อาจมีอาการ pleuritis pain โดยมีอาการเจ็บปวดขณะหายใจลึกๆ เป็น ๆ หาย ๆ
การตรวจร่างกาย
หายใจเร็ว
ไข้ โดยเฉพาะเด็กอายุต่ำกว่า 2 ปี มักมีไข้สูงกว่า 38 องศาเซลเซียส
มีอาการหายใจลำบาก ได้แก่ อกบุ๋มเวลาเวลาหายใจเข้า ปีกจมูกบาน มีการใช้กล้ามเนื้อพิเศษช่วยในการหายใจ
โรคติดเชื้อทั้งในทางเดินหายใจส่วนบนและส่วนล่าง และโรคระบบทางเดินหายใจอื่น ๆ
หืด (Asthma)
อาการและอาการแสดง
chronic asthma
acute asthma
จะเกิดการหดเกร็งของหลอดลม
หลอดเลือดขยายตัว มีการรั่วซึมของเหลวจากหลอดเลือดเข้าท่อทางเดินหายใจทำให้เกิดการบวม
มีการสร้างมูกคัดหลั่งเพิ่มขึ้น และมีภาวะความไวเกินของหลอดลม
หายใจลำบาก ได้ยินเสียงวี๊ดขณะหายใจออก และมักมีอาการไอร่วมด้วย จะไอบ่อยมีเสมหะมาก ซึ่งเป็นเสมหะที่เหนียวข้น ขับออกยาก
คอตีบ (Diphtheria)
เป็นโรคติดต่อเฉียบพลันและร้ายแรงของระบบทางเดินหายใจ
อาการและอาการแสดง
มีอาการหวัดและไอนำมาก่อน 2-3 วัน ต่อมาจะพบ patch ที่เยื่อบุในคอและต่อมทอนซิล
มีแผ่นเยื่อมาคลุมบริเวณจมูกและคอทำให้หายใจลำบาก หายใจเสียงดัง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
คอตีบจะพบรูปร่างเหมือนตัวหนังสือจีนติดสีน้ำเงิน การเพาะเชื้อ C.diphtheria
การรักษา
การรักษาเฉพาะ ให้ penicillin G ขนาด 100,000 ยูนิต/กิโลกรัม/วัน ทางหลอดเลือดดำนาน 14 วัน
ไอกรน (Pertussis, Whooping cough)
การติดเชื้อแบคทีเรียเฉียบพลันของทางเดินหายใจ จะมีอาการไออย่างรุนแรงโดยเฉพาะในเด็กเล็ก
อาการและอาการแสดง
ระยะอาการนำ (catarrhal stage)
อาการอยู่ประมาณ 1-2 สัปดาห์
โดยจะมีอาการของ
การติดเชื้อระบบทางเดินหายใจส่วนบนที่ไมรุนแรง
ระยะแสดงอาการ (paroxysmal stage)
มีอาการนาน 2-4 สัปดาห์
จะไอรุนแรงติดต่อกันเป็นชุดๆ 5-10 ครั้ง
ตามด้วยการหายใจเข้าอย่างเร็วและแรงผ่านเข้าทางเดินหายใจบริเวณกลอสติสที่แคบลง ทำให้หายใจเข้ามีเสียงดังวู๊ป (whooping cough)
ระยะพักฟื้น (convalescent stage)
นาน 2-3 สัปดาห์ ความรุนแรงของอาการจะลดลง ไอห่างออกเรื่อย ๆ แต่อาจมีอาการอยู่อีกหลายเดือน
จัดให้เด็กอยู่ในห้องแยก ต้องแยกเด็กไม่ต่ำกว่า 5 วัน หลังจากได้รับยา erythromycin เพื่อป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อ
บทบาทพยาบาลกับการปฏิบัติหัตถการ
การทำกายภาพบำบัดทรวงอกในทารกและเด็ก (Chest physiotherapy)
การจัดท่าเพื่อระบายเสมหะ (postural drainage), การเคาะทรวงอก (percussion), การสั่นทรวงอก (vibration)และการกำจัดเสมหะ (secretion removal)
เพื่อป้องกันการคั่งค้างและช่วยขับเสมหะออกจากหลอดลม เพื่อฟื้นฟูสภาพและประสิทธิภาพการทำงานของปอดในการแลกเปลี่ยนก๊าซในการหายใจ
การใส่ท่อระบายทรวงอก (Intercostal drainage)
เพื่อทำให้ปอดสามารถขยายตัวได้เต็มช่องเยื่อหุ้มปอด
เพื่อช่วยระบาย ลม เลือด น้ำ หนอง เนื้อเยื่อตาย หรือสิ่งติดเชื้อออกจากช่องเยื่อหุ้มปอด
เพื่อป้องกันการดูดย้อนกลับของลม เลือด น้ำ หนอง เนื้อเยื่อตาย หรือสิ่งติดเชื้อจากขวดระบายเข้าสู่ช่องเยื่อหุ้มปอด
นางสาวธัญพิชชา เหล่านอก รหัสนิสิต 62560571