Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 นิติเวชสำหรับพยาบาล, image, image, นางสาวพิชญาภา นิ่มมณี เลขที่…
บทที่ 5
นิติเวชสำหรับพยาบาล
การเปลี่ยนแปลงภายหลังตาย
(Post-mortem change)
Anatomical consideration
การเปลี่ยนแปลงโดยเห็นได้ด้วยตาเปล่า
Postmortem Cooling
อุณหภูมิต่ำ
Postmortem eye change
ในตาขุ่น
Corneal opacity
- ขุ่นเร็ว/ขุ่นช้า
เริ่มขุ่นเมื่อผ่านไป 2-3 ชั่วโมง หากเปิดตา
กระจกตาอาจใสได้ถึง 24 ชั่วโมง
Postmortem rigidity
ศพแข็งตามท่าตาย
ขยับให้ได้ตาม range of motion การเอาเข่าชิดอก
ตายมาแล้ว 2-16 hrs.
(กล้ามเนื้อแข็งตัวเต็มที่)
Rigor mortis
ปัจจัยที่มีผล
ATP ก่อนตาย ใช้พลังงานก่อนตาย
--> ตายแล้วแข็งเลย เนื่องจากใช้พลังงานหมดแล้ว
Decomposition
เน่า
Autolysis
อวัยวะที่มีเอนไซม์มาก
Putrefaction
มีเชื้อแบคทีเรียไปทำลาย
เกณฑ์
3
วัน : พองโต ผิวหนังเริ่มลอก มีถุงน้ำ สีคล้ำ**
ปัจจัยที่มีผล
อุณหภูมิ
สภาพก่อนตาย(ติดเชื้อในกระแสเสือด/อ้วน/เบาหวาน)
ร่างกายในเสี้อผ้าจะเน่าช้ากว่าไม่ใส่เสื้อผ้า
Postmortem hypostasis
Hypostasis
สังเกตเห็นที่ 30 นาที ถึง 2 ชั่วโมงหลังตาย
Fix เมื่อ 8 ถึง 12 ชั่วโมง
ส่วนต่ำที่สุด จางลงเมื่อกด
กด 3 นาที เป็นจุด Fix หลอดเลือดแตกแล้ว (จุดแดงๆ)
Contusion
ส่วนใดก็ได้ ไม่จาง กรีดแล้วเช็ดไม่ออก
Chemical consideration
การเปลี่ยนแปลงทางสารเคมี
Supravitality
การเปลี่ยนแปลงการกระตุ้นต่าง
หลังตาย cell หรือ tissue แต่ละส่วน
ยังมีชีวิตอยู่ตอบสนองต่อการกระตุ้น
Electrical excitability
Chemical excitability
Mechanical excitability
วิธีตรวจ -
ใช้สันไม้เคาะบริเวณ
biceps brachii ตอบสนองกล้ามเนื้อ
จะหดตัวเป็นสันนูน แปลผลเกิดขึ้นภายใน 5 ชั่วโมง
ชนิดบาดแผล
(WOUND)
บาดแผลฉีกขาดขอบเรียบ
(Cut wounds) แข็งมีคม
วัตถุมีคม ไม่มีรอยช้ำ , ไม่พบ bridging tissue , Hair root ขาด
บาดแผลฉีกขาดขอบไม่เรียบ
(Lacerations) แข็งไม่มีคม
ถูกบดขยี้ง่ายกว่า หลุดลอก → Undermined
เหนียวกว่าไม่ฉีกขาดเห็นเป็นเส้นเชื่อม → Bridging tissue
ผิวหนังถูกวัตถุไม่มีคมบดขยี้อย่างแรง จนฉีกขาดออกจากกัน
ขอบแผลมีรอยถลอกและฟกช้ำ ขน ผม ช่วยซับแรง อาจไม่เห็น
บาดแผลแทง (Stab wounds)
ความลึกมากกว่าความยาว
วัตถุมีคม
วัตถุไม่มีคม
บาดแผลฟกช้า
(Contusions)
บาดแผลฟกช้ำใต้ผิวหนัง
(Subcutaneous /
Usual contusion)
ไม่สามารถบอก
รูปร่างหรือานาดวัตถุที่กระทำได้
ซ้ำปกติ / ธรรมดาที่าไป
: กลมหรือรี ขอบแผลไม่ชัด สีม่วง สีเขีียว
บาดแผลฟกช้ำในชั้นผิวหนัง (Intradermal contusion)
สีม่วงแดง ขอบชัด,
บอก
รูปร่างและขนาดเป็นไปตามวัตถุที่กระทำ
ถูกบีบหรือกระทบ โดยวัตถุแข็งไม่มีคม
เส้นเลือดเล็ก ๆ ใต้ผิวหนังฉีกขาด
ชนิดของบาดแผลฟกช้ำ
บาดแผลกระสุนปืน
(Gunshot wounds)
กระสุนปืนลูกโดด
Gunshot wound
Punch-out lesion
บาดแผลฉีกขาดเป็นรูโบ๋
Marginal abrasion / abrasion collar
รอยถลอกรอบแผล
กระสุนปืนลูกปราย
Shotgun wound
กระสุนปืนหลาย ๆ เม็ด เมื่อยิงจะกระจาย
ตัวออกตามระยะทางที่เพิ่มขึ้น
หลักการเกี่ยวกับเขม่าดินปืน เปลวไฟ ทางเข้า ทางออก
คล้ายกระสุนปืนลูกโดด
บาดแผลถลอก (Abrasions)
บาดแผลถลอกขีดข่วน
Scratches
ครูดกับวัตถุแข็งไม่มีคมปลายแหลม
หรือเล็กเป็นเส้นเล็ก ๆ
บาดแผลถลอก
ถูครูด Grazes
วัตถุไม่มีคมที่มีพื้นผิวหยาบ
เป็นปื้น
บาดแผลถลอกจากการ
กดกระแทก Imprint abrasion
กดกระแทกกับวัตถุแข็งไม่มีคม
ผิวหนังถูกขยี้ลอกหลุดไป
บาดแผลอื่น ๆ
บาดแผลจากการกัด Bite mark
บาดแผลจากกระจกรถยนต์ Dicing injury
บาดแผลจากถูกมือบีบ Grip mark
บาดแผลจากเล็บมือ Fingernail mark
หลักการชันสูตรศพ
นิติเวชวิทยา
กระบวนการยุติธรรม นำความรู้ทางการแพทย์
เพื่อตอบสนอง วัตถุประสงค์ของกฎหมาย
ระบบการชันสูตร
3 ระบบ
ระบบแพทย์สอบสวน Medical Examiner
ระบบตำรวจ Police System
ระบบศาล Coroner System
การชันสูตร
ตรวจศพที่ตายหรือสงสัยว่าตายจากสาเหตุ
หรือภายใต้สถานการณ์เฉพาะที่ระบุไว้ในกฎหมาย
ประมวลกฎหมาย
มาตรา 148
: ตายโดยผิดธรรมชาติ หรือตายใน
ระหว่างอยู่ในความควบคุมของเจ้าพนักงาน
ตายโดยผิดธรรมชาติ
5 แบบ
ถูกสัตว์ทำร้ายใหตาย
ตายโดยอุบัติเหตุ
ถูกผู้อื่นทำให้ตาย
ตายโดยยังมิปรากฏเหตุ
ฆ่าตัวตาย
มาตรา 149
ความตายผิดธรรมชาติเกิดมีขึ้น ของสามี ภริยา
ญาติมิตรสหายหรือผู้ปกครองของผู้ตาย ที่รู้เรื่องการตายเช่นนั้นจัดการ
บุคคลที่เกี่ยวข้อง
กรณีตายโดย
ผิดธรรมชาติทั่วไป
พนักงานสอบสวน
แพทย์
กรณีตายโดยเกิดขึ้นโดยการกระทำของเจ้าพนักงาน
ซึ่งอ้างว่าปฏิบัติราชการตามหน้าที่หรือตาย
ในระหว่างอยู่ในความควบคุมของเจ้าพนักงาน
แพทย์
พนักงานอัยการ
พนักงานสอบสวน
พนักงานฝ่ายปกครอง
2 ฝ่าย 4 ฝาก
ชันสูตร
ผู้ตายคือใคร, ตายที่ไหน, ตายเมื่อใด, เหตุที่ตาย,
พฤติการณ์ที่ตาย, ถ้าตายโดยคนทำร้าย ให้กล่าวว่าใคร
หรือสงสัยว่า ใครเป็นผู้กระทำผิดเท่าที่ทราบ
เหตุจำเป็นต้องผ่าศพ
ปวอ.ม.151 :
ส่งสิ่งต่อไปนี้ไปยังพนักงานแยกธาตุของรัฐ
ธาตุส่วนใดส่วนหนึ่งของศพ จากการผ่าศพ
บางส่วนของศพ
ทั้งศพ
เอกสารที่ต้องทำ
บันทึกรายละเอียดการชันสูตรพลิกศพ
ทำทันทีที่ชันสูตรพลิกศพ ทำที่เกิดเหตุ
รายงานชันสูตรพลิกศพ
แพทย์
กรณีไปแทนแพทย์ →
ต้องรายงานแพทย์ด้วย แล้วในแพทย์เขียน
การชันสูตรพลิกศพ :
Who, When, Where, Why, How & By whom ?
การเก็บสิ่งส่งตรวจ
หลักการเก็บวัตถุพยาน
CHAIN OF CUSTODY
LABELLING ให้ถูกต้อง
CONTAMINATION
CHAIN OF CUSTODY ให้ รพ. อี่นตรวจต้องซิลให้ดี
SAFETY
การเก็บสิ่งส่งตรวจ
(specimen collection)
จุดประสงค์
เพื่อวินิจฉัยภาวะพิษเฉียบพลัน
วินิจฉัยว่ามีการได้รับสารพิษเข้าไปหรือไม่
→ ทำให้เกิดพิษต่อร่างกายหรือไม่
สิ่งส่งตรวจ
BIOLOGICAL SAMPLES
Blood
UrineGastric content
Vitreous humor
Bile
Hair
Nail
Tissue/organ
NON-BIOLOGICAL SAMPLES
Container
Drug paraphernalia
Cloths
นางสาวพิชญาภา นิ่มมณี เลขที่ 38
นักศึกษาพยาบาลศาสตร์ชั้นปีที่ 2 รุ่นที่ 31