Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลระยะ Active phase - Coggle Diagram
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลระยะ Active phase
เสี่ยงต่อภาวะ Fetal distress จากการหดรัดตัวของมดถูกที่ถี่และรุนแรงขึ้น
วัตถุประสงค์การพยาบาล
เพื่อป้องกันภาวะ Fetal distress
เกณฑ์การประเมินผล
ไม่พบขี้เทาในน้ำคร่ำ
Uterine Contraction การหดรัดตัวของกล้ามเนื้อมดลูก Interval 2-3", Duration 45-60"
FHS อยู่ในช่วง 110-160 ครั้งต่อนาทีสม่ำเสมอ
ประเมิน Fetal movement การที่ลูกดิ้นน้อยลงทารกอาจอยู่ในภาวะอันตราย มีความเสี่ยงที่จะเสียชีวิตได้
ข้อมูลสนับสนุน
S : - กลั้นหายใจเวลามดลูกหดรัดตัว
O : - PV พบ mucous bloody show - เวลา 12.00 น. Cx. Dilate 6 cms, Effacement 75 %, Membrane MI, Station 0, FHS 138 bpm., Interval 3", Duration 45", Pain score = 6 คะแนน
กิจกรรมการพยาบาล
รายงานเมื่อพบภาวะ Fetal distress หลังจากให้การพยาบาลแล้วอาการไม่ดีขึ้น
ประเมินการเคลื่อนไหวของทารกในครรภ์ (Fetal movement) เพื่อประเมินสุขภาพทารกในครรภ์
ติดตามบันทึกการหดรัดตัวของมดลูกในระยะ Latent phase ทุก 1 ชั่วโมง Active phase ทุก 30 นาที
ประเมินลักษณะสีน้ำคร่ำ ถ้าพบสีของน้ำคร่ำลักษณะปนขี้เทาที่ข้นมากขึ้นให้รายงานแพทย์
สังเกตการหดตัวของมดลูกทุกๆ 15-30 นาที
ประเมินสภาพทารกในครรภ์โดยการทำ Electronic Fetal Monitoring เมื่อแรกรับ
ประเมินฟังเสียงของหัวใจทารกในครรภ์ทุก 30 นาที ถ้าพบความผิดปกติของการเต้นของหัวใจทารก ปฏิบัติดังนี้
1.3 ให้ออกซิเจน Mask with bag 10 Lit/min
1.4 On Electronic Fetal Monitoring Continuous
1.2 ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ ชนิด 5%D/N/2 เพื่อป้องกันการสูญเสียน้ำ เลือด และป้องกันไม่ให้เกิดภาวะตกเลือดในระยะหลังคลอด
1.5 รายงานแพทย์รับทราบ
1.1 ดูแลมารดานอนตะแคงซ้าย
แนะนำให้นอนตะแคงด้านซ้าย เพื่อเพื่อเพิ่มการไหลเวียนของเลือดให้มาเลี้ยงบริเวณมดลูกมากขึ้น
ส่งเสริมความก้าวหน้าการคลอดในระยะ Active phase
วัตถุประสงค์การพยาบาล
เพื่อให้ความก้าวหน้าของการคลอดในระยะปากมดลูกเปิดเร็วดำเนินไปตามปกติจนปากมดลูกเปิดหมด
เกณฑ์การประเมินผล
การหดรัดตัวมดลูก Interval 2-3", Duration 45-60"
Partograph อยู่บนเส้น alert line
Severity +2 - +3
mucous bloody show เพิ่มมากขึ้น
ปากมดลูกขยาย 1.5 cm./hr.
ข้อมูลสนับสนุน
S : - ผู้คลอดบอกว่าเจ็บครรภ์ถี่ขึ้น เหงื่อออกเต็มใบหน้า บิดตัวไปมา
O : - PV พบ mucous bloody show
เวลา 12.00 น. Cx. Dilate 6 cms, Effacement 75 %, Membrane MI, Station 0, Interval 3", Duration 45", Pain score = 6 คะแนน
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินตำแหน่งของ FHS เมื่อเข้าสู่ระยะคลอดหรือปากมดลูกเปิดขยายมาก ส่วนนำมีการเคลื่อนต่ำตำแหน่งของ FHS ก็จะเคลื่อนต่ำด้วย
ดูแลกระเพาะปัสสาวะให้ว่างโดยกระตุ้นปัสสาวะทุก 2-4 ชั่วโมง เพื่อไม่ให้กระเพาะปัสสาวะเต็ม
ประเมินความก้าวหน้าของการคลอดโดยการประเมินการหดรัดตัวทุก 30 นาที และตรวจภายในทุก 2 ชั่วโมง หรือเมื่อผู้ลอดมีลมเบ่ง
ดูแลเกี่ยวกับความสุขสบายทั่วไป ดูแลความสะอาดของร่างกาย
ประคับประคองด้านจิตใจแก่ผู้คลอดด้วยการพูดปลอบโยน เปิดโอกาสให้ซักถาม พูดคุยให้กำลังใจ
จัดสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสม จัดสิ่งแวดล้อมให้สงบ อุณหภูมิพอเหมาะและมีการถ่ายเทอากาศที่ดี
ประเมิน mucous bloody show ถ้าปากมดลูกเปิดมากอาจมีมูกปนเลือดออกมามากและจุกอยู่ที่ช่องคอมดลูกจะมีเลือดปนออกมาด้วย
ลงบันทึก Partograph
กระตุ้นให้ส่วนนำของทารกลงสู่อุ้งเชิงกราน การจัดให้ผู้คลอดอยู่ในท่าศีรษะสูงจะช่วยส่งเสริมการเคลื่อนต่ำของทารกในครรภ์และทำให้มดลูกหดรัดตัวได้ดีขึ้น
มีความวิตกกังวลและความกลัวต่อการเจ็บครรภ์และการคลอด
วัตถุประสงค์การพยาบาล
ผู้คลอดมีความวิตกกังวลและความกลัวต่อการเจ็บครรภ์และการคลอดลดลง
เกณฑ์การประเมินผล
มารดาคลายความวิตกกังวล
มารดามีความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการคลอด การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นต่อร่างกาย สามารถปฏิบัติได้ถูกต้อง
ข้อมูลสนับสนุน
S : - ร้องขอคนช่วยนวดหลัง
O : - สีหน้าวิตกกังวล
กิจกรรมการพยาบาล
ส่งเสริมความไว้วางใจ โดยสร้างสัมพันธภาพที่ดี เพื่อให้ผู้คลอดกล้าซักถามปัญหาหรือข้อข้องใจ
ช่วยให้ผู้คลอดคลายความวิตกกังวลและความกลัวโดยปฏิบัติ ดังนี้
3.2 อยู่เป็นเพื่อนปลอบใจให้กำลังใจ และเป็นที่ปรึกษาของผู้คลอด รับฟังและพร้อมที่จะแก้ปัญหาต่างๆแก่ผู้คลอด
3.3 ให้การพยาบาลผู้คลอดโดยการใช้คำพูดที่สุภาพ ชัดเจน เข้าใจง่าย แสดงทำทีสนใจและตั้งไงฟังเมื่อผู้คลอดพูดมีการแสดงความเห็นใจ บีบมือ และแตะไหล่ผู้คลอดเบาๆตามความเหมาะสมกับสภาพและอาการของผู้คลอด
3.1 เปิดโอกาสให้ผู้คลอดชักดามปัญหา และกระตุ้นให้ผู้คลอดระบายความรู้สึกต่างๆ เ
ประเมินความวิตกกังวลและความรู้เกี่ยวกับกลไกการคลอด การเจ็บครรภ์ และการผ่าตัดคลอดโดยการซักถามและจากการสังเกตพฤติกรรม
ประเมินสภาพผู้คลอดและทารกในครรภ์ เพื่อประเมินว่าผู้คลอดอยู่ในระยะใดของการคลอดพร้อมทั้ง
บอกผลการประเมินให้ทราบ โดยเฉพาะในส่วนของทารกในครรภ์เพื่อช่วยให้ผู้คลอดคลายความวิตกกังวล
ให้โอกาสผู้คลอดได้ติดต่อกับญาติ โดยพยาบาลเป็นสื่อกลางแจ้งข้อมูลข่าวสารการเยี่ยมของสามีและญาติไห้สู่คลอดทราบ
7.อธิบายให้ผู้คลอดทราบถึงเหตุผลของการรักษาพยาบาลและผลการตรวจทุกครั้งถึงความก้าวหน้าของการคลอดเพื่อให้ผู้คลอดคลายความวิตกกังวลและมีความกลัวลดลงด้วย
ประเมินความต้องการของผู้คลอด กระตุ้นให้ผู้กลอดบอกถึงความรู้สึกที่แท้จริงและให้การตอบสนอง
อย่างเหมาะสม