Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การตั้งครรภ์แฝดน้ำ (Hydramnios หรือ Polyhydramnios) - Coggle Diagram
การตั้งครรภ์แฝดน้ำ
(Hydramnios หรือ Polyhydramnios)
ความหมาย
การตั้งครรภ์ที่มีน้ำคร่ำมากกว่าปกติเกินเปอร์เซ็นไทล์ที่ 95 ของแต่ละอายุครรภ์หรือการตรวจดัชนีในน้ำคร่ำ (AFI) เกิน 24-25 เซนติเมตร ถ้าวัดปริมาตรได้โดยตรงจะนับที่ 2,000 มิลลิลิตร
สาเหตุ
1.เกิดจากหญิงตั้งครรภ์เป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์มีระดับน้ำตาลในกระแสเลือดสูง
เกิดจากทารก เนื่องจากเกิดจากความผิดปกติหรือพิการของทารก
เกิดจากรก ครรภ์แฝดน้ำอาจเกิดจากรก
4.เกิดจากกลุ่มที่ไม่ทราบสาเหตุ (Idiopathic) ซึ่งพบเป็นส่วนใหญ่ของการตั้งครรภ์แฝดน้ำ
การประเมินและการวินิจฉัย
1.การซักประวัติ
1.1ซักประวัติพบปัจจัยเสี่ยงได้แก่
เคยตั้งครรภ์แฝดชนิด monozygotic,
เคยตั้งครรภ์แฝด,พันธุกรรมเป็นหวาน
1.2ถ้าเป็นชนิดครรภ์แฝดแบบเฉลียบพลัน
จะให้ประวัติว่าขนาดหน้าท้องขยายมากขึ้น
แน่นอึดอัด หายใจลำบาก บวมที่ผนังหน้าท้อง
2.การตรวจร่างกาย
และการตรวจครรภ์ .
2.1การตรวจร่างกาย
พบว่าหน้าท้องขยายใหญ่ วัดเส้นรอบท้องมากกว่า 100 ซม
ไตรมาส3 มดลูกกลมมากว่าจะเป็นรูปไข่ ผนังหน้าท้องบาง
ตึง มันใส
เห็นเส้นเลือดดำชัดเจน
2.2การตรวจครรภ์
คลำหาส่วนของหลังและแขนขาทารกลำบาก
คลำไม่พบส่วนต่างๆของทารก
ท่าทารกอยู่ในท่าที่ผิดปกติหรือส่วนนำผิดปกติ
ฟังเสียงหัวใจลำบาก
ในรายที่มีน้ำคร่ำมากเมื่อคลำและเคาะจะพบ fluid thrill
3.การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ตรวจด้วยเครื่องวัดความถี่สูง เพื่อตรวจสอบว่าปริมาณน้ำคร่ำ
โดยการวัด pocket ใหญ่ที่สุดของน้ำคร่ำใน 4 quadrants
มารวมกัน ค่าปกติ 5-20 ถ้าเป็นครรภ์แฝดน้ำจะพบมากกกว่า 20
อาการ
สตรีมีครรภ์ที่มีภาวะน้ำคร่ำมาก มักมีอาการหายใจลำบาก เหนื่อย นอนราบไม่ได้ ขาบวม บางรายที่มีอาการรุนแรง จะมีปัสสาวะออกน้อย อาจมีการเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด หรืออาจเกิดถุงนำคร่ำแตกก่อนกำหนด เกิดภาวะรกลอกตัวก่อนกำ ตกเลือดหลังคลอด
ผลกระทบ
ทารก
นอกจากอาการ ท้องโต อึดอัดหายใจไม่ออก นอนราบไม่ได้ มดลูกที่ขยายใหญ่มากเกินไป มีส่วนทำให้ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนดได้เช่นกัน ซึ่งก็ส่งผลให้มดลูกบีบรัดตัวอย่างรวดเร็ว รกลอกตัวก่อนเวลาอันควร เจ็บครรภ์ก่อนกำหนด และเสี่ยงต่ออาการตกเลือดหลังคลอดได้
มารดา
เนื่องจากขนาดของมดลูกที่มีขนาดใหญ่และน้ำคร่ำมาก ทำให้ทารกมีพื้นที่ในการเคลื่อนไหวมาก ทารกสามารถเคลื่อนที่ไปมาอยู่ในท่าทางไม่คงที่ หรือผิดปกติไม่พร้อมสำหรับการคลอด เช่นอยู่ในท่าก้น ท่าขวาง ส่งผลให้แพทย์ต้องตัดสินใจทำการผ่าคลอด
การรักษา
1.ในรายที่มีอาการแน่นอึดอัดอย่างรุนเเรง หายใจลำบาก ปวดท้อง
ให้นอนโรงพยาบาลเพื่อให้ได้นอนหลับพักอย่างเต็มที่ โดยการให้ยานอนหลับเพื่อลดความวิตกกังวล
ถ้าอาการรุนเเรงมาก ให้เจาะน้ำคร่ำทางหน้าท้อง ต้องระวัดระวังการติดเชื้อและตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง ดูดน้ำคร่ำออกครั้งละ
500-1000 มล.ช้าๆทุก2-3วัน
2.รับประทานอาหารที่โปรตีนสูง
3.ให้ยาขับปัสสาวะในหญิงตั้งครรภ์ที่มีอาการบวม
4.ถ้าหญิงตั้งครรภ์เสี่ยงต่อการคลอดก่อนกำหนด ให้ยายับยั้งการหดรัดตัวของมดลูก Tocolytic drugs
5.การเจาะน้ำคร่ำในระยะคลอด ครวให้น้ำคร่ำไหลช้าที่สุด ป้องกันการลอกตัวของรกก่อนกำหนด สายสะดือย้อย
6.ในระยะคลอดมดลูกหดรัดตัวไม่ดี จะได้รับยาเร่งคลอด
7.เจาะเเละจองเลือด
8.ผ่าตัดทารกออกทางหน้าท้องในกรณี ท่าทารกและส่วนนำผิดปกติ ครรภ์แฝด รกลอกตัวก่อนกำหนด ทารกขาดออกซิเจน
ศีรษะทารกไม่ได้สัดส่วนกับเชิงกราน สายสะดือย้อย
9.หลังคลอดถ้าหญิงตั้งครรภ์มีอาการตกเลือด ให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
ขนิดครรภ์แฝดน้ำ
1.ครรภ์แฝดน้ำเฉียบพลัน(Acute hydramnios) พบในอายุครรภ์ 20-24 สัปดาห์ เกิดขึ้นเร็ว2-3 วัน
มดลูกมีการขยายตัวมากกว่าอายุครรภ์ ปวดท้อง ปวดหลัง ปวดขา แน่นอึดอัด หายใจลำบาก คลื่นไส้อาเจียน ผนังที่หน้าท้องบวมบริเวณอวัยวะเพศและขา
2.ครรภ์แฝดน้ำเรื้อรัง (Chronic hydramnios) อาการจะคล้ายๆกับแบบเฉียบพลัน แต่จะเกิดขึ้นช้าๆ พบได้ในอายุครรภ์ 30 สัปดาห์ แต่อาการจะไม่รุนเเรงเท่าชนิดเฉียบพลัน อาจจะมีอาการ หายใจลำลาก อึดอัด เจ็บครรภ์คลอดเตือนก่อนคลอดหลายสัปดาห์