Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Tetanus (โรคบาดทะยัก), ppt-14-638, อาการโรคบาดทะยัก, images (1) - Coggle…
Tetanus (โรคบาดทะยัก)
กิจกรรมการพยาบาล
ข้อที่ 1
- ดูเเลทางเดินหายใจให้โล่ง Suction clear air way โดยไม่กระตุ้นผู้ป่วยมาก
- ดูเเลให้ได้รับออกซิเจน ตามเเผนการรักษาของเเพทย์
- ดูเเล Respiratory ให้ทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ (กรณีใส่เครื่องช่วยหายใจ)
- ประเมินสัญญาณชีพทุก 1 ชั่วโมง
- ดูเเลหลีกเลี่ยงสิ่งกระตุ้นให้ชัก ให้นอนห้องเเยก สัมผัสผู้ป่วยเท่าที่จำเป็น
- ดูเเลให้ยาควบคุมอาการชักหรือหดเกร็งของกล้ามเนื้อตามเเผนการรักษาของเเพทย์
- ดูเเลให้นอนศรีษะยกสูง เพื่อให้กะบังตัวหย่อนลง หายใจได้สะดวก
ข้อที่ 2
1.เเนะนำให้ความรู้เกี่ยวกับอาการของโรคเเละพยาธิสภาพของโรค
- เเนะนำให้ผู้ป่วยฉีดวัคซีนป้องกันบาดทะยัก โดยให้ร่วมกับวัคซีนโรคคอตีบและไอกรน (DPT) ในเด็กในเมื่ออายุ 2, 4 และ 6 เดือนตามลำดับ และให้กระตุ้นเมื่ออายุ 1 ปี 6 เดือน และ 4- 6 ปี หลังจากนั้นให้วัคซีนบาดทะยักอย่างเดียวทุก 10 ปี
- เเนะนำเกี่ยวกับการป้องกันของโรค
ข้อที่ 3
- ประเมินระดับความสามารถของผู้ป่วยในการทำกิจวัตรประจำวันเพื่อวางแผนกับทีมสุขภาพและญาติในการให้การฟื้นฟูสมรรถภาพที่เหมาะสม
- ดูเเลให้ความช่วยเหลือโดยการดูแลสุขอนามัย (Hygine care) ลดการหมักหมมของเชื้อโรค
- ดูเเลสอนผู้ป่วยให้ออกกำลังกายแบบ active และ passive exercise ร่วมกับทีมกายภาพบำบัด
- การจัดอุปกรณ์เครื่องใช้ของผู้ป่วย เช่น ที่นอน ผ้าปู เสื้อผ้า โดยเน้นถึงความสะอาด ไม่มีปมหรือเงื่อน ที่อาจทeให้เกิดแผลจากการนอนทับ
- ดูแลผ้าปูที่นอนสะอาด ไม่อับชื้น ขึงตึงไม่มีรอยย่น รอยยับ เพื่อป้องกันไม่ให้ถูไถกับผิวหนังของผู้ป่วยจนเกิดแผล ดูแลและจัดท่าของร่างกายของผู้ป่วย โดยให้ศีรษะ ข้อไหล่ ข้อสะโพก และข้อต่างๆ ในท่าที่ถูกต้อง เหมาะสม
-
สาเหตุ
-จุลชีพก่อโรค คือ Clostridium tetani ไม่ทนความร้อนเเละอากาศ สร้างสปอร์ทนความร้อนเเละสารเคมีต่างๆได้ดี
-พบมากในดิน ลำไส้เเละมูลของสัตว์ เช่น วัว ควาย สุนัข เเมว หนู หมู ไก่ เป็นต้น ติดต่อสู่คนโดยปนเปื้อนบาดเเผล
-
อาการเเละอาการเเสดง
อาการเเสดงทางคลินิก
- Generalized tetanus อาการเเสดงเกิดทั่วร่างกาย Local tetanus อาการเเสดงเฉพาะที่ พบบ่อยเเละมีอาการรุนเเรงมากที่สุด ส่วนใหญ่มาด้วยขากรรไกรเเข็ง มีอาการของ autonomic overactivity ได้เเก่ กระสับกระส่าย เหงื่อเเตก หัวใจเต้นเร็ว อาการเฉพาะเช่น คอเเข็ง ตัวเเอ่น
- Local tetanus เป็นบาดทะยักชนิดที่พบน้อย มีอาการหดเกร็งกล้ามเนื้อเฉพาะที่ เช่น ที่เเขนหรือขาข้างเดียว
- Cephalic tetanus เกิดในผู้ป่วยที่มีการบาดเจ็บบริเวณคอเเละศรีษะ อาการเฉพาะ ได้เเก่ กลืนลำบาก คอเเข็ง ขากรรไกรเเข็ง
- Neonatal tetanus เกิดภายหลังการตดสายสะดือที่ไม่สะอาดภายหลังการคลอดจากมารดาที่ไม่มีภูมิคุ้มกันต่อบาดทะยัก อาการสำคัญ ไม่รับประทานอาหาร อ้าปากไม่ได้ กำมือเเน่น ดูดนมเเล้วหยุดดูด
อาการที่พบบ่อย
-มีอาการอ้าปากไม่ได้ (Trismus, Lockjaw) -การเเสดงสีหน้าคล้ายการเเสยะยิ้ม (Risus sardonicus)
-ต่อมามีการเเข็งเกร็งกล้ามบริเวณคอ หลัง หน้าท้อง ลำตัว หน้าอก ทำให้มีอาการ หลังเเอ่น (Opisthotonus)
-หากรุนเเรงอาจทำให้เกิดการหักของกระดูกสันหลัง
-Sympathetic hyperactivity เช่น การเต้นของหัวใจผิดจังหวะ ความดันโลหิตเปลี่ยนเเปลงทั้งสูงเเละต่ำกว่าปกติ ไข้สูง เหงื่ออกมาก
พยาธิสภาพของโรค
เป็นโรคติดเชื้อที่จัดอยู่ในกลุ่มของโรคทางประสาทและกล้ามเนื้อ เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Clostidium tetani ซึ่งผลิต exotoxin ที่มีพิษต่อเส้นประสาทที่ควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อ ทำให้มีการหดเกร็งตัวอยู่ตลอดเวลา เริ่มแรกกล้ามเนื้อขากรรไกรจะเกร็ง ทำให้อ้าปากไม่ได้ โรคนี้จึงมีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า โรคขากรรไกรแข็ง (lockjaw) ผู้ป่วยจะมีคอแข็ง หลังแข็ง ต่อไปจะมีอาการเกร็งของกล้ามเนื้อ ทั่วตัว ทำให้มีอาการชักได้
ระยะฟักตัว
-ระยะฟักตัวของโรค incubation period (ระยะเวลาที่ได้รับเชื้อจนเริ่มเเสดงอาการ) ประมาณ 3-21 วัน
-ระยะเวลาการดำเนินโรค period of onset (ระยะเวลาตั้งเเต่เริ่มมีอาการจนถึงมีอาการเเข็งเกร็งของกล้ามเนื้อทั่วร่างกาย) อาจนานประมาณ 1-5 วัน
-
-
-