Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยจิตเวชเด็กและวัยรุ่น - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยจิตเวชเด็กและวัยรุ่น
1.ภาวะบกพร่องทางสติปัญญา/ภาวะปัญญาอ่อน(Intellectual Disabillities : ID/Mental Retardation : MR)
อาการและอาการแสดง
1) ภาวะบกพร่องทางด้านสติปัญญา/ภาวะปัญญาอ่อนระดับเล็กน้อย (mind intellectual
disabilities/mental retardation) ระดับ IQ เท่ากับ 50-70 พบได้ร้อยละ 85
เด็กกลุ่มนี้สามารถเรียนได้ถึงระดับประถมศึกษา ฝึกอาชีพและทำงานหาเลี้ยงตัวเองได้
ต้องการความช่วยเหลือเป็นครั้งคราว
ภาวะบกพร่องทางด้านสติปัญญา/ภาวะปัญญาอ่อนระดับปานกลาง (moderate intellectual disabilities/mental retardation) ระดับ IQ เท่ากับ 35-49 พบได้ร้อยละ 10
พัฒนาการสูงสุดเท่ากับเด็กอายุ 6-9 ปี สามารถฝึกให้ช่วยเหลือตนเองได้ และทำงานง่ายๆ เช่น งานล้างจาน ซักรีดเสื้อผ้า กวาดบ้านถูบ้าน
ต้องการความช่วยเหลือปานกลาง
ภาวะบกพร่องทางด้านสติปัญญา/ภาวะปัญญาอ่อนระดับรุนแรงมาก (profound intellectual disabilities/mental retardation) ระดับ IQ ต่ำกว่า 20 พบได้ร้อยละ 1-2
ช่วยเหลือตนเองได้น้อยมากหรือไม่ได้เลย ต้องการให้ดูแลและช่วยเหลือช่นเดียวกับเด็กเล็ก
ภาวะบกพร่องทางด้านสติปัญญา/ภาวะปัญญาอ่อนระดับรุนแรง (severe intellectual disabilities/mental retardation) ระดับ IQ เท่ากับ 20-34 พบได้ร้อยละ 3-4
พัฒนาการการสูงสุดเท่ากับเด็กอายุ 3-5 ปี สามารถฝึกให้ช่วยเหลือตนเองด้านกิจวัตรประจำวันง่ายๆ เช่น รับประทานอาหาร อาบน้ำ แปรงฟัน โดยต้องมีคนแนะนำ ช่วยเหลือตลอดเวลา
สาเหตุการเกิดภาวะบกพร่องทางสติปัญญา
1.พันธุกรรม ที่พบบ่อย ได้แก่ ดาวน์ซินโดรม(Down syndrome),โรคทูเบอรัส สเคอโรซิส(Tuberous sclerosis),โรคฟินิลคีโตนูเรีย(Pheylketonuria [PUK]) และโรคพันธุกรรมเมตาบอลิก(Inborn error of metabolism)
2.ภาวะแทรกซ้อนในระยะก่อนคลอดและระหว่างคลอด
3.สาเหตุที่เกิดขึ้นภายหลัง ได้แก่ การติดเชื้อ เนื้องอกในสมอง
การวินิจฉัยโรคภาะบกพร่องทางสติปัญญา
Criteria A. มีความบกพร่องทางเชาวน์ปัญญา โดยมีระดับเชาวน์ ต่ำกว่า 70 ทั้งนี้จำเป็นต้องอาศัยการประเมินทางคลินิกร่วมด้วยในการแปลผลระดับ IQ
Criteria B. มีความบกพร่องในการทำหน้าที่ของตน
Criteria C. ความบกพร่องทางสติปัญญาและการปรับตัวเริ่มแสดงอาการตั้งแต่ในระยะพัฒนาการ
การบำบัดรักษา
หลักการพื้นฐานคือช่วยให้ผู้ป่วยสามารถดำเนินชีวิตอยู่ในสังคมตามปกติได้มากที่สุด
โรคพฤติกรรมเกเร (Conduct Disorder: CD)
สาเหตุการเกิดของโรคพฤติกรรมรุนแรง
1.ผู้ที่เคยเป็นโรคสมาธสั้นมาก่อน 2.กรรมพันธุ์ 3.ถูกบิดามารดาทอดทิ้งอยู่ในสถานสงเคราะห์ตั้งแต่อายุยังน้อย 4.บิดาติดสุรา และ 5.บิดามีบุคลิกภาพแบบต่อต้านสังคม
อาการและอาการแสดงของโรคพฤติกรรมเกเร
มีความประพฤติผิดปกติติดต่อกันเป็นระยะเวลานานอย่างน้อย 6เดือน โดยมีอาการต่อไปนี้เกิดขึ้นอย่างน้อย 3อย่าง คือ 1.ลักขโมยปลอมลายมือ 2.หนีออกจากบ้าน 3.พูดโกหก 4.ลอบวางเพลิง 5.หนีโรงเรียน 6.ลอบเข้าไปขโมยของในบ้านคนอื่น 7.ทารุณสัตว์ 8.ข่มขืน 9.ใช้อาวุธในการต่อสู้ 10.ชอหาเรื่องทะเลาะวิวาท 11.ลักทรัพย์จนถูกจับได้ และ 12.ทำอันตรายต่อผู้อื่น
การบำบัดรักษา
การรักษาต้องใช้หลายวิธีผสมผสานกันไป ทั้งพฤติกรรมบำบัด ครอบครัวบำบัด และการใช้ยาฝนกลุ่มยารักษาโรคจิต ลิเทียม หรือยากันชักบางประเภทในรายที่มีอาการก้าวร้าวรุนแรงเกินกว่าควบคุมได้
โรคสมาธิสั้น (Attention Deficit Hyperactivity Disorder: ADHD)
สาเหตุการเกิดโรคสมาธิิสั้น
2.การทำงานของระบบสมอง
3.สิ่งแวดล้อม
1.พันธุกรรม
อาการและอาการแสดงของโรคสมาธิสั้น
1.ขาดสมาธิ (inattention)
วอกแวกง่าย
ขาดความตั้งใจในการทำงาน
เด็กมักจะลืมหรือทำครึ่งๆกลางๆ
2.อาการซน (hyperactivity)
ซน ยุกยิก อยู่ไม่เป็นสุข นั่งนิ่งๆไม่ค่อยได้
ขยับตัวไปมา ชอบปีนป่าย เล่นเสียงดัง
เล่นไม่รู้จักเหน็ดเหนื่อย
3.อาการหุนหันพลันแล่น (impulsivity)
วู่วาม ใจร้อน
เวลาต้องการอะไรก็จะต้องให้ได้ทันที รอยคอยอะไรไม่ได้
การบำบัดรักษา
1.การช่วยเหลือด้านครอบครัว (Family intervention)
2.การช่วยเหลือด้านโรงเรียน (School intervention)
3.การใช้ยา
1.โรคออทิสติกหรือออทิสซึม (Autistic/Autism Disorder)
การบำบัดรักษา
2.การรักษาด้วยยา เป็นการรักษาตามอาการเพื่อลดพฤติกรรมที่ก่อให้เกิดปัญหาในการดูแล และทำให้ผู้ป่วยได้รับประโยชน์จากการรักษาด้วยวิธีอื่น
1.การกระตุ้นพัฒนาการ การปรับพฤติกรรม ฝึกพูด และให้การศึกษาที่เหมาะช่วยให้เด็กมีอาการดีขึ้น
อาการและอาการแสดงภาวะออทิสติก
3.พฤติกรรมและความสนใจแบบจำเพาะซ้ำเดิม เช่น การสะบัดข้อมือ หมุนข้อเท้า โยกศีรษะ หมุนวัตถุ เปิดปิดไฟ
2.การสื่อสารกับผู้อื่นทั้งการพูดและภาษาท่าทาง
1.ความบกพร่องในการมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคม
สาเหตุการเกิดภาวะออทิสติก
1.ปัจจัยทางชีวภาพ (Biological factors)
2.ปัจจัยทางจิตสังคม (Psychological factors) ได้แก่ การเลี้ยงดู