Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
SCRUB TYPHUS, images_medium_g07ja15c02x , images , ดาวน์โหลด - Coggle…
SCRUB TYPHUS
-
กิจกรรมการพยาบาล
ข้อที่ 3
- ประเมินวัดสาญญาณชีพทุก 1 ชั่วโมง
- ติดตามผลการตรวจระดับเกลือแร่ในร่างกาย ผลยูเรีย
ไนโตรเจน และครีตินิน
- บันทึกปริมาณน้ำเข้าออกจากร่างกาย
- สังเกตอาการของของเสียคั่งในร่างกาย เช่น ปัสสาวะออกน้อย เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน
- ดูเเลให้ได้รับสารน้ำตามเเผนการรักษา
ข้อที่ 4
- ดูเเลให้สารน้ำเเละอาหารอย่างถูดต้องตามเเผนการรักษาของเเพทย์
- ดูเเลให้ยาตามเเผนการรักษาของเเพทย์
- ดูเเลให้ยาปฏิชีวนะตามเเผนการรักษาเเละประเมินอาการไม่พึงประสงค์จากยา
- ประเมินเเละบันทึกสารน้ำเข้า-ออก จากร่างกายทุก 4 ชั่วโมง
5.ติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ข้อที่ 1
- ดูแลเช็ดตัวลดไข้ด้วยน้ำสะอาด โดยเช็ดทวนรูขุมขน ถ้าผู้ป่วยมีอาการหนาวสั่นควรให้ความอบอุ่น (keep warm)ก่อน เมื่อหายจากอาการหนาวสั่นแล้ว จึงเช็ดตัวลดไข้ด้วยน้ำอุ่น
- แนะนำให้ผู้ป่วยดื่มน้ำมากๆวันละ 2000-3000 ซีซี (8-12 แก้ว) เพื่อให้น้ำระบายความร้อนออกจากร่างกายและลดการติดเชื้อในร่างกาย
- ดูแลให้ผู้ป่วยพักผ่อนอย่างเพียงพอ เพื่อลดอัตราการเผาผลาญภายในเซลล์ร่างกาย
- ดูแลให้ยาลดไข้ ตามแผนการรักษา Paracetamol (500 mg) 1 tab oral p.r.n q 4-6 hrs.
- ติดตามประเมินอุณหภูมิร่างกายทุก 4 ชั่วโมง
ข้อที่ 2
1.ดูเเลให้ออกซิเจนตามเเผนการรักษาของเเพทย์
- ดูเเลให้ผู้ป่วยนอนในท่าศรีษะยกสูง เพื่อให้ผู้ป่วยหายใจได้สะดวกมากยิ่งขึ้น
- ติดตามสัญญาณชีพทุก 1 ชั่วโมง
- ประเมินการหายใจ อาการหอบเหนื่อย ปลายมือเท้าเขียว
- ติดตามผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ระบาดวิทยา
-โรคสครับไทฟัส เป็นโรคติดต่อที่เกิดจากเช้ือ Orientia tsutsugamushi
-เดิมชื่อว่า Rickettsia tsutsugamushi
-โรค Scrub typhus เป็ นสาเหต ุของภาวะไข้เฉียบพลันที่พบบ่อยในประเทศไทย
-พบมากแถบเอเชียตะวันออกและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
-พบในถิ่นทุรกันดารและสัมพันธ์กับอาชีพเกษตรกรรม
-
พยาธิสภาพของโรค
เชื้อ O. tsutsugamushi เขา้สู่Plasma membreane ของ Mammalian cell โดยขบวนการ Attachment และ Phagocytosis และจะหลุดจาก Phagosme อยู่อย่างอิสระเเละเเบ่งตัวใน Cytoplasm ซึ่งเป็นสาเหตุให้เกิด Cell injury มีเชื้อบางตัวเข้าสู่ง Mestothelial cell ในเส้นเลือดขนาดเล็กเเละเกิด Vasculitis ได้ทั่วร่างกาย
ความรุนเเรงของเชื้อขึ้นอยู่กับตัวเชื้อเเละภูมิต้านทานของ Host Humoral antibody ในคนสามารถป้องกันได้ประมาณ 2 ปี ในสายพันธ์เดียวกัน ถ้าต่างสายพันธ์จะป้องกันได้ไม่กี่เดือน
การรักษา
Tetracyclin 500 mg วันละ 2 ครั้ง
Doxyycyclin 100 mg iv drip q 12 hrs. กรณีรุนเเรง
Doxycyclin 100 mg oral bid q 7 day. กรณีไม่รุนเเรง
อาการ
-มีไข้เฉียบพลัน หนาวสั่น ปวดศรีษะ ไอเเห้ง
-ตรวจร่างกายพบต่อมน้ำเหลืองโต
-มีเเผล ก้นเเผลเป็นสะเก็ดสีดำเเละขอบเเผลนูนเเดงคล้ายถูกบุหรี่จี้ (Eshcar) พบที่ขาหนีบ รักเเร้
-ผื่นเเดงตามตัวในวันที่ 5-7 หลังมีไข้
-
-
-