Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 11 เคมีของผู้บริโภค, นางสาวจันทรา แซ่ย่าง รหัส 611117021 - Coggle…
บทที่ 11 เคมีของผู้บริโภค
เคมีอาหาร
อาหารหลักแบ่งได้ 5 ประเภท
คาร์โบไฮเดรต
มอโนแซคคาไรด์
ฟรุคโตส
กาแลคโทส
กลูโคส
ไดแซคคาไรด์
ซูโคลส
มอลโตส
เซลลูโลส
โพลีแซคคาไรด์
ไขมัน
ไขมันและน้ำมันเป็นไตรกลีเซอไรด์ซึ่งประกอบด้วยเอสเทอร์ของกลีเซอรอล (glycerol) กับกรดไขมัน (faty acids)
โปรตีน
โปรตีนเกี่ยวข้องกับระบบต่างๆที่มีในเนื้อเยื่อของสิ่งมีชีวิตเช่นเป็นสารโครงสร้างหลักของผมเล็บผิวกล้ามเนื้อแอนตี้บอดี้เอ็นไซม์โปรตีนเฮโมโกลบินในเลือดโปรตีนอินซูลิน
กรดอะมิโนประเภทจำเป็น (essential amino acids) เป็นชนิดที่ร่างกายไม่สามารถสร้างขึ้นมาเองได้จะต้องได้รับจากอาหารเท่านั้น
กรดอะมิโนประเภทไม่จำเป็น (onessential amino acids) พวกนี้จะสามารถสร้างได้เองจากร่างกาย
วิตามิน
วิตามินเป็นสารที่จำเป็นต่อการป็นต่อการมีสุขภาพที่ดีโดยจัดเป็นพวกสารอินทรีย์ปริมาณน้อยที่คนบางกลุ่มเช่นพวกอดอาหารจำเป็นได้รับและเป็นเอนไซม์ร่วมที่ใช้ในร่างกายสำหรับคนได้รับสารอาหารครบจากอาหารก็อาจไม่จำเป็นจะต้องรับประทาน
พวกละลายน้ำได้คือพวกวิตามินกลุ่ม B ทั้งหมดไบโอตินและวิตามิน A (หรือ Ascobic acid)
พวกละลายในไลปิด (น้ำมันและไขมัน) ได้แก่ วิตามินกลุ่ม A, D, E และ K
แร่ธาตุ
แร่ธาตุหมายถึงธาตุต่างๆที่นอกเหนือจากคาร์บอน (C) ออกซิเจน (O) ไฮโดรเจน (H) และไนโตรเจน (N)โดยหน้าที่ของแร่ธาตุจะช่วยรักษาให้สุขภาพสมบูรณ์และมีการเจริญเติบโตได้อย่างปกติ
สารเติมแต่งอาหาร
สารเติมแต่งอาหารเป็นสารเคมีที่เติมลงในอาหารในช่วงระหว่างการปรุงหรือทำอาหารและการบรรจุหีบห่ออาหารซึ่งในปัจจุบันมนุษย์เราให้ความสนใจในแง่ของความเป็นพิษที่จะเกิดต่อมนุษย์หรือไม่สารเหล่านี้โดยมากใส่ในอาหารโดยวัตถุประสงค์หลายอย่างเช่นป้องกันการเน่าเสียให้ความหวานเพิ่มรสชาดเพิ่มสีหรือทำให้อาหารเป็นที่ดึงดูคต่อลูกค้า
สารเติมแต่งเพื่อถนอมอาหาร
สาเหตุ
1) เน่าเสียเนื่องจากเชื้อแบคทีเรียและราเรียกสารกลุ่มนี้ว่าจุลชีพ (antimicrobial)
2) เน่าเสียเนื่องจากปฏิกิริยาออกซิเดชัน (ทำปฏิกิริยากับออกซิเจนในอากาศ) เรียกสารกลุ่มนี้ว่าสารแอนตี้ออกซิแดนท์ (antioxidant)
สารต่อต้านจุลชีพ
สารต่อต้านจุลชีพนิยมใส่ในผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์ที่ผ่านกรรมวิธีทำให้สุกแล้วเช่นเบคอนฮอทดอกแฮมและปลารมควัน
ในไตรท์ (Nitrites) และไนเตรท (Nitrates) ใส่ในอาหารประเภทเนื้อสัตว์ที่สุกแล้วเพื่อป้องกันไม่ให้เชื้อแบคทีเรีย
ซัลไฟท์ (Sulfite) ได้แก่ โซเดียมซัลไฟท์ (Na, SO) และโปตัสเซียมซัลไฟท์ (K, So, นิยมใส่ในไวน์ผลไม้แห้งเยลลีแยมถ้ามีการเติมสารกลุ่มนี้ในอาหารยังไม่มีรายงานของผลเสียต่อสุขภาพ แต่ถ้าใช้ฉีดพ่นบนผักและผลไม้พบว่าจะก่อให้เกิดอาการภูมิแพ้ในคนที่เป็นโรคหืดหอบได้
เกลือโซเดียม (Na) โปตัสเซียม (K) และแคลเซียม (Ca) กรดเบนโซอิก (benzoic acid) กรดโปรปีโอนิค (propionic) และกรดซอบิก (sorbic acid)
แอนตีออกซิแดนท์
เป็นสารเคมีที่เติมในอาหารเพื่อให้ปฏิกิริยาออกซิเดชันเกิดช้าลงโดยเฉพาะการออกซิเดชันที่เกิดได้เร็วในอาหารพวกไขมันและน้ำมันสารเคมีกลุ่มนี้ ได้แก่ สารบีเอชเอ (BHA, butylated hydroxyanisol) และบีเอชที (BHT, butylated hydroxytoluene)
การเพิ่มกลิ่นอาหาร
สารที่เพิ่มกลิ่นอาหารซึ่งมาจากธรรมชาติเป็นส่วนใหญ่ ได้แก่ ขิงซินนามอนพริกไทยและอื่น ๆ รวมถึงจากสารสังเคราะห์ซึ่งมีสูตรโครงสร้างดังนี้สารกลุ่มนี้จัดเป็นพวกที่ปลอดภัยต่อสุขภาพถ้าใช้ในปริมาณไม่มากจนเกินไป
สารเพิ่มรสชาติ
สารชนิดที่ใช้เป็นตัวเพิ่มรสชาคที่มีการใช้มากคือผงชูรส
สารให้ความหวานสังเคราะห์
เป็นสารให้ความหวานที่สังเคราะห์ขึ้นมาเพื่อบริโภคทดแทนซูโคสซึ่งเป็นประโยชน์แก่ผู้เป็นโรคเบาหวานและผู้ที่ต้องการควบคุมน้ำหนักเนื่องจากเป็นสารที่ให้แคลอรีต่ำ
สีผสมอาหาร
ทั้งประเภทที่มาจากธรรมชาติ ได้แก่ แครอทผิวขององุ่นบีทรูทประเภทที่สังเคราะห์ขึ้นมาได้มาจากโคลทาร์
เคมีของยา
ยาปฏิชีวนะ
เป็นยาฆ่าหรือป้องกันไม่ให้แบคทีเรียเจริญเติบโตการรักษาในเชิงเป็นยาปฏิชีวนะโดยภูมิปัญญาชาวบ้านนั้นนิยมจะใช้สมุนไพรกระเทียม ฯลฯ
เพนนิซิลิน (Penicillin) สังเคราะห์โดย Alexander Fleming โดยพบว่าจะฆ่าแบคทีเรียเฉพาะบางประเภทได้และไม่ทำลายเม็ดเลือดขาว
ปฏิชีวนะพวกอื่น ๆ เช่นพวกสเตรปโตมัยซิน อีรีโทรมัยซิน และเททราไซคลิน
ยาเสพติด
กลุ่มยาเสพติดทั้งหลายเช่นมอร์ฟีน (morphine) เฮโรอีน (heroin) แอลเอสดี (LSD) ต่างก็มีโครงสร้างที่ร่วมกัน
ยาระงับปวด
-เมทีลซาลิไซเลท (methyl salicylate) ใช้ผสมในยาหม่องหรือครีมนวดเพื่อระงับปวด
-มอร์ฟีนก็จัดเป็นยาระงับปวด แต่ไม่นิยมให้ใช้เนื่องจากเป็นยาเสพติดอย่างอ่อนด้วย
เคมีของเครื่องสำอาง
เป็นสารเคมีที่ใช้เพื่อให้เกิดความสวยงามโดยใช้กับส่วนที่อยู่ภายนอกร่างกายมนุษย์
เครื่องสำอางใช้เพื่อดูแลผิวพรรณ
ผิวจัดเป็นอวัยวะที่มีเนื้อที่มากที่สุดในร่างกายและมีหน้าที่สำคัญหลายอย่างเช่นควบคุมเชื้อโรคควบคุมอุณหภูมิร่างกายให้เป็นไปตามปกติ
อีโมเลียม
ครีมทาผิว
โลชันทากันแดด
ทาบนผิวเพื่อป้องกันไม่ให้แสงอัลตราไวโอเลตทำอันตรายผิวโดยชนิดสารเคมีทั่วไปคือกรดพาราอะมิโนเบนโซอิก (PABA) พานาเอสเตอร์ (PABA ester)
แป้งทาหน้า
ส่วนประกอบหลักของแป้งทาหน้าจะประกอบด้วยแคลเซียมคาร์บอเนตหรือทาลคัม (3MgO 4SIO, H, O) บางชนิดจะเติมสารเพื่อทำลายความมันของใบหน้าคือซิงค์ออกไซด์ (ZnO) และอาจเติมตัวทำให้ผงฝุ่นแป้งติดหน้าได้นานคือซิงค์สเตียเรทฯ
ยาสีฟัน
เป็นสารเคมีที่ใช้ในการทำความสะอาดฟันโดยจุดประสงค์เพื่อไม่ให้สิ่งสกปรกตกค้างอยู่บนฟันนอกจากนี้ยังอาจมีการเติมสารเคมีอื่น ๆ ลงไปเพื่อป้องกันฟันผุได้ด้วย
สารเคมีเกี่ยวกับผม
ยาย้อมผม
สเปรย์ฉีดผม
น้ำยาดัดผม
นางสาวจันทรา แซ่ย่าง รหัส 611117021