Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะระบบหายใจล้มเหลวในทารกและเด็ก และการพยาบาลทารกและเด็กป่วยที่ได้รับออก…
ภาวะระบบหายใจล้มเหลวในทารกและเด็ก
และการพยาบาลทารกและเด็กป่วยที่ได้รับออกซิเจนและใช้เครื่องช่วยหายใจ
การได้รับออกซิเจน
การระบายอากาศ (Ventilation)
การซึมซ่าน (Diffusion)
ก๊าซจากบริเวณที่มีความเข้มข้นสูงไปยังบริเวณที่มีความเข้มข้นต่ำ เพื่อการแลกเปลี่ยนก๊าซ
การกำซาบ (Perfusion)
เป็นการไหลเวียนเลือดทั่วร่างกายเพื่อนำ O2เข้าสู่เซลล์
การบริโภคออกซิเจน (Oxygen consumption)
เป็นการนำ O2เข้าสู่ขบวนการหายใจของเซลล์ที่ไมโตคอนเดรีย
RESPIRATORY FAILURE
acute respiratory failure
เกิดขึ้นอย่างเร็ว ใช้เวลาไม่เกิน 1-2 วัน
chronic respiratory failure
เกิดขึ้นนานจนมีการปรับสมดุลของร่างกายเพื่อตอบสนองต่อภาวะเนื้อเยื่อพร่องออกซิเจน
ภาวะพร่องออกซิเจนในเลือด
PaO2 น้อยกว่า 60 มิลลิเมตรปรอท
ภาวะคั่งของคาร์บอนไดออกไซด์ในเลือด
PaCO2 มากกว่า 50 มิลลิเมตรปรอท ภาวะนี้จะมีภาวะพร่องออกซิเจนในเลือดร่วมด้วย
อาการและอาการแสดง
หายใจเร็วขึ้น หน้าอกบุ๋มขณะหายใจ ปีกจมูกบาน หายใจมีเสียงดัง (grunting)
กระสับกระส่าย หายใจเร็ว หัวใจเต้นเร็ว เหงื่อออก
การรักษา
การรักษาเบื้องต้นเพื่อแก้ปัญหาเฉพาะหน้า ได้แก่ การใส่ท่อ หลอดลมคอ การช่วยหายใจด้วยออกซิเจนความเข้มข้นสูง
การค้นหาและรักษาตามสาเหตุ
การแก้ไขความผิดปกติของการแลกเปลี่ยนก๊าซ
การรักษาแบบประคับประคอง
การให้ออกซิเจนด้วยวิธีต่างๆ
Nasal canula (nasal prongs)
1-6 ลิตร/นาที ในทารกให้ไม่เกิน 2 ลิตร/นาที จะได้ออกซิเจนเข้มข้นประมาณร้อยละ 24-45 ถ้าเปิดมากกว่านี้จะทำให้ระคายเคืองเยื่อบุทางเดินหายใจ
Simple face mask
ต้องเปิดออกซิเจนให้มีอัตราการ
ไหลมากกว่า 5 ลิตร/นาที จะได้ออกซิเจนเข้มข้นประมาณร้อยละ 35-60
Partial rebreathing mask
ควรเปิดให้มีอัตราการไหลไม่ต่ำกว่า 5 ลิตร/นาที และที่สำคัญก่อนใช้ต้องเปิดออกซิเจนให้ถุงโป่ง
Non rebreathing mask
ชนิดที่มีถุงเก็บบออกซิเจนต่อที่หน้ากาก และมีลิ้นปิดเปิดทางเดียว 2 จุด
ควรเปิดให้มีอัตราการไหลไม่ต่ำกว่า 10 ลิตร/นาที จะได้ออกซิเจนเข้มข้นประมาณร้อยละ 60-80
Venturi mask
ลักษณะเหมือน simple face mask แต่ออกซิเจนที่จะเข้าสู่หน้ากากจะผ่านทางเปิดเล็ก (jet orifice)
Tracheal mask
T-piece
Oxygen box หรือ Oxygen hood
่จะต้องเปิดออกซิเจนให้มีอัตราการไหลไม่ต่ำกว่า
4 ลิตร/นาทีเพื่อป้องกันการคั่งของคาร์บอนไดออกไซด์
ถ้าเปิด 5-8 ลิตร/นาที จะได้ความเข้มข้นออกซิเจนประมาณร้อยละ 30-70
เครื่องช่วยหายใจ (Mechanical ventilators)
การช่วยหายใจแบบแรงดันลบ (Negative pressure ventilation)
การช่วยหายใจแบบแรงดันบวก (Positive pressure ventilation หรือ PPV) ทำให้ลมไหลเข้าออกจากปอด
Tidal volume (VT)
ปริมาตรอากาศที่ไหลเข้าออกจากปอดผู้ป่วย 1 ครั้งของการหายใจ
Minute volume (MV)
ปริมาณลมหายใจออกทั้งหมดใน 1 นาที
Airway pressure (Paw)
ความดันหลอดเลือดในขณะใช้เครื่องช่วยหายใจ
Peak inspiratory pressure (PIP)
วัดได้สูงสุดในช่วงจังหวะการหายใจเข้า
ค่า PIP
เป็นค่า Paw ที่สูงสุดของตลอดช่วงการหายใจ จึงอาจเรียกว่า Peak airway pressure
End expiratory pressure (EEP)
ระดับ Paw ที่สิ้นสุดของการหายใจออก ภาวการณ์หายใจปกติค่า EEP เท่ากับศูนย
Inspiratory flow rate (IF)
อัตราการไหลเข้าของอากาศเข้าสู่ปอด
Respiratory rate (RR) คือ อัตราการหายใจคิด
Inspiratory time (Ti)
ช่วงเวลาที่ใช้ในการหายใจออก
I:E Ratio
I:E Ratio จะน้อยกว่า 1 เสมอ
Ventilator
เป็นเครื่องที่ใช้ในรายที่เด็กหายใจเองไม่ได้ หรือได้ไม่พอซึ่งรูปแบบของการปรับเครื่องช่วยหายใจจะปรับตามความรุนแรงของอาการ
CMV (Continuous Mandatory Ventilation)
เป็นรูปแบบการช่วยหายใจที่เครื่องช่วยหายใจจะควบคุมตัวแปรในการหายใจทั้งหมดโดยไม่มีการตอบโต้จากผู้ป่วย การเปลี่ยนรอบการหายใจเข้าเป็นการหายใจออก (cycle)ขึ้นอยู่กับชนิดเครื่องช่วยหายใจ
Assist ventilation
ตั้งเครื่องช่วยหายใจโดยผู้ป่วยเป็นผู้กระตุ้นให้เครื่องช่วยหายใจทำงานตามแรงกระตุ้นของผู้ป่วยแต่ละครั้ง
Control ventilation
ใช้ในกรณีที่ผู้ป่วยไม่สามารถหายใจได้เอง
เครื่องจะทำหน้าที่ควบคุมการหายใจของผู้ป่วยตามที่กำหนดไว้
Assist/Control Ventilation (ACV)
ที่ผสมผสานกันทั้งสองอย่างขึ้นอยู่กับภาวะของผู้ป่วย
Intermittent Mandatory Ventilation (IMV)
การหายใจโดยอาศัยเครื่องเป็นตัวกำหนด
แรงดันบวก ดันลมเข้าไปในปอดเป็นครั้งคราวสลับกับการหายใจของผู้ป่วยเอง
Synchronous Intermittent Mandatory Ventilation (SIMV)
รูปแบบการช่วยหายใจที่คล้ายกับการช่วยหายใจแบบ IMV เพียงแต่ว่าเมื่อถึงช่วงเวลาที่เครื่องจะปล่อยความดันบวก CMV ออกมาในวงจรการหายใจ
Pressure Control Ventilation (PCV)
โดยการควบคุมให้ผู้ป่วยหมดแบบ control มักใช้ในARDS รุนแรง
Pressure support Ventilation (PSV)
เป็นการหายใจเองตามธรรมชาติของผู้ป่วย ที่ผู้ป่วยสามารถกาหนดอัตราการหายใจ อัตราการไหลของอากาศ เวลาและปริมาตรอากาศได้
Continuous Positive Airway Pressure: CPAP
การหายใจวิธีนี้ผู้ป่วยต้องออกแรงหายใจเองตลอด แต่เครื่องจะช่วยโดยการให้ลมไหลเข้ามาในท่อวงจรหายใจอย่างต่อเนื่อง
High frequency ventilation
การใช้เครื่องช่วยหายใจในอัตราที่สูงกว่าระดับการหายใจปกติ
ส่วนใหญ่จะใช้ระดับเริ่มต้นอย่างน้อยที่สุด 1 Hz (60 ครั้ง/นาที)
ผู้ป่วยที่มีภาวะหายใจล้มเหลวชนิดรุนแรง หรือผู้ป่วยที่มีภาวะลมรั่วในช่องปอด
การให้ความชื้นและการบำบัดด้วยฝอยละออง