Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การตรวจร่างกาย chest (Heart & Lung), นางสาวปฐวี กระจ่างศรี เลขที่ 38…
การตรวจร่างกาย chest (Heart & Lung)
ปอด และทรวงอก
การเคาะ
ได้ยินเสียงเคาะ resonance ทั่วทั้งปอด หากพบเสียง hyperresonance พบในภาะ pneumothorax, emphysema หากพบเสียง dullness พบในภาะ pleural effusion, lung mass, pneumonia
เคาะเปรียบเทียบข้างซ้ายกับข้างขวาไล่จากบนลงล่าง ขณะเคาะให้กดนิ้วนั้นแนบกับผิวหนัง และยกนิ้วอื่นขึ้น
เคาะปอดเริ่มจากกระดูกไหปลาร้าแต่ละข้าง ไล่ลงมาทีละช่องของกระดูกซี่โครงทั้ง 2 ข้าง ปกติเสียงก้อง (Resonance)
การคลำ
Expansion of lung :การขยายตัวของปอด 2 ข้างเท่ากัน การตรวจด้านหลัง ให้นิ้วหัวแม่มือวางขนานกับกระดูกซี่โครงคู่ที่ 10 การตรวจด้านหน้าวางมือบริเวณชายโครงตามกระดูกซี่โครงคู้ที่ 6
Tactile fremitus :การคลำเสียงสะท้อน ถ้าฟังเสียงสะท้อนได้เบากว่าอีกข้างหนึ่งแสดงว่าปอดข้างนั้นแฟบหรือมีสิ่งอุดกั้นในหลอดลมข้างนั้น เช่น น้ำ หนอง หรือลมในโพรงเยื่อหุ้มปอดข้างนั้น
รู้สึกถึงการสั่นสะเทือนทั้ง 2ข้างหากแรงสั่นสะเทือนลดลงจะพบในผู้ที่มี pleural effusion
การดู
ทรวงอกรูปร่างกลม antero-posterior diameter แคบกว่า lateral diameter สัดส่วน 5:7 หรือ 1:2
ไม่พบรอยโรคบนผิวหนัง หรือ Spider nevi
ไม่พบรูปร่างทรงอกผิดปกติเช่น Pigeon chat, Funnel chest, Barrel shape
การเคลื่อนไหวของทรวงอก สังเกตุอัตราการหายใจ ความลึก จังหวะ ใช้กล้ามเนื้อหน้าอกช่วยหายใจหรือมี Sternal retraction หรือไม่
ลักษณะเต้านม หัวนม
การฟัง
Bronchial breath sound:เสียงหายใจเข้าสั้น เสียงหายใจออกยาวฟังได้ที่บริเวณหลอดลมคอ
Vesicular breath sound : เสียงหายใจเข้ายาว เสียงหายใจออกสั้น
Broncho-vesicular breath sound : เสียงหายใจเข้าออกเท่า ๆกัน ฟังได้ที่ Rib 2-3 และระหว่างกระดูกสะบัก
Rhonchi and wheezing เป็นเสียงที่เกิดจากการสั่นสะเทือนของหลอดลม ในขณะที่มีลมวิ่งผ่านหลอดลมที่ตีบแคบ พบใน Asthma, อากาศผ่านช่องทางที่แคบ พบใน Asthma, COPG, CHF
Wheezing เป็นเสียงที่มีลักษณะแหลมกว่า rhonchi ซึ่งความแหลมของเสียงขึ้นกับความเร็วของลมที่วิ่งผ่าน
Rhonchi เกิดจากอากาศผ่านหลอดลมขนาดใหญ่ในทรวงอกตีบแคบตีบแคบ
Crepitation or crackle เกิดจากน้ำในหลอดลมฝอยทำให้ถุงลมแฟบขณะหายใจออก
Stridor เป็นเสียงที่เกิดจากการตีบแคบของหลอดลมขนาดใหญ่มีลักษณะเป็นเสียงหวีดที่ได้ยินชัดในช่วงหายใจเข้า มักได้ยินโดยไม่ต้องใช้ stethoscope
หัวใจ
การดู
สีผิวเหมือนสีกายไม่พบรอยโรค หรือ spider nei เห็นการเต้นของหัวใจ
ดูลักษณะผนังของทรวงอกว่าเหมือนกัน 2 ข้างหรือมีการโป่งนูนของผนังทรวงอก ถ้ามีการโป่งนูนด้านซ้ายขอกระดูด sternum แสดงว่ามี ventricular hypertrophy
ดู Apical impulseหรือ Apical bestคือตำแหน่งที่มีการเต้นของหัวใจแรงที่สุด เรียกว่า Point of maximum impulse: PMI บางรายอาจมองไม่เห็นเนื่องจากผนังทรวงอกหนา
Abnormal pulsation อื่น ๆในบริเวณ Precordial area และบริเวณคอทั้ง 2 ข้างเช่น Impulse จาก Aneurysm
การฟัง
Aortic valve ฟังได้ที่ด้านขวาของ sternum rib 2
Pulmonic valve ฟังได้ที่ด้านซ้ายของ sternum rib 2
Tricuspid valve ฟังได้ที่ด้านซ้ายของsternum rib4 or 5
Mitral valve ฟังได้ที่ apex beat
ต้องได้ยินเสียงหัวใจอย่างน้อย 2 เสียง คือ S1 และ S2 หากได้ยินเสียงฟู่ ๆหรือ mermer แสดงถึงลิ้นหัวใจผิดปกติ
การเคาะ
เคาะหาขอบของหัวใจ เคาะที่ทรวงอกซ้ายจาก mcl ของ rib 3,4,5 เคลื่อนเข้า sternum จนได้ยินเสียงทึบคือริมซ้ายของหัวใจ
การคลำ
Thrill การสั่นสะเทือนของ cardiac murmur apex best (PMI) คลำได้ที่ rib 5 ข้างซ้ายไม่เกินแนว mcl หากคลำพบ thrill แสดงถึงลิ้นหัวใจผิดปกติ
คลำตำแหน่งของ PMI.: ใช้ปลายนิ้วมือทั้ง 4 นิ้วตำแหน่งที่คลำหังใจจะเต้นแรงที่สุด จะมีแรงกระแทกนิ้วมือเพียงจุดเดียวหรือริเวณเล็ก ๆ อยู่ที่ช่องซี่โครงที่ 5 ตรงกับ MCL ซึ่งเป็นตำแหน่งของ Apex
การฟังเพื่อตรวจอาการแสดงของหัวใจโต เรียกว่า Ventricular heave แรงขึ้นเพราะ Left ventricular hypertrophy, contractility
เปลี่ยนไปทางซ้ายเนื่องจาก ซ Rt. Pneumothorax, Lt. Atelectasis , Cardiac dilatation เปลี่ยนไปทางขวาเนื่องจาก: Lt. Pneumothorax, Rt. Atelectasis
นางสาวปฐวี กระจ่างศรี เลขที่ 38 รหัสนักศึกษา 63123301074