Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Medications Affecting the Hematologic System, pixlr-bg-result (14),…
Medications Affecting the Hematologic System
Medications Affecting Coagulation
Tranexamic acid
กลไกการออกฤทธิ์ : ออกฤทธิ์ยับยั้งการสลายตัวของไฟบริน (antifibrinolytic) โดยยาจะเข้าจับที่ fibrin biding site บน plasminogen แบบผันกลับได้ ทำให้โครงสร้างของไฟบรินคงตัว
ข้อบ่งใช้: ป้องกันภาวะที่มีเลือดออกผิดปกติขณะผ่าตัด ป้องกันและทุเลาการเสียเลือดในผู้ป่วย hemophilia
ผลข้างเคียง : มีลิ่มเลือดอุดตัน โดยสามารถเกิดได้ทั้งหลอดเลือดแดง และหลอดเลือดดำ (arterial and venous thrombosis) คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเดิน การให้ยาทาง iv เร็วเกินไปจะทำให้เกิด hypotension ในรายที่ได้รับยาเป็นเวลานานจะทำให้การมองเห็นผิดปกติ
Vitamin K1 (Phytomenadione)
ข้อบ่งใช้: ได้รับยาห้ามการแข็งตัวของเลือดประเภท warfarin เกินขนาด, ภาวะขาด vitamin K ซึ่งมีความผิดปกติของการแข็งตัวของเลือด, ภาวะ prothrombin ต่ำ (hypoprothrombinemia) เนื่องจากภาวะเป็นพิษจาก salicylate
ผลข้างเคียง : Anaphylactoid reaction หลังจากฉีดเข้าทางเส้นเลือดดำ การฉีดเข้าเส้นเลือด จึงควรจำกัดอยู่เฉพาะในภาวะฉุกเฉินเท่านั้น และผู้ป่วยต้องอยู่ในความดูแลอย่างใกล้ชิด
กลไกการออกฤทธิ์ : เป็น cofactor ที่จ าเป็นในการสร้าง coagulation factor ได้แก่ factor II, VII, IX และ X ที่ตับ
Medications Affecting Coagulation
ยาหรือสารที่เปลี่ยนแปลงกระบวนการแข็งตัวของเลือด
ป้องกันการเกิดลิ่มเลือด หรือ ละลายลิ่มเลือดที่เกิดขึ้น
เป้าหมายในการใช้ยา
ทำให้เลือดไหลเวียนได้ตามปกติ
ป้องกันความเสียหายของอวัยวะต่าง ๆ
ลดความเจ็บปวดที่เกิดขึ้นจากผลของลิ่มเลือดที่ไปอุดตัน
Oral and parenteral anticoagulants, direct thrombin inhibitors,direct inhibitors of factor Xa, antiplatelet medications, และ thrombolytic agents
Growth Factors
เป็นกลุ่มของสารโปรตีนโพลีเปปไทด์ (polypeptide) ที่มีคุณสมบัติในการกระตุ้นหรือเหนี่ยวนำให้เกิดการแบ่งตัวและเพิ่มจำนวนเซลล์
Interleukin-3 (IL-3) , granulocyte/macrophage colony-stimulating factor (GM–CSF), granulocyte CSF (G–CSF), macrophage CSF (M–CSF) และ erythropoietin
ทำหน้าที่กระตุ้นการแบ่งตัวและการพัฒนาของเซลล์
ต้นกำเนิดในไขกระดูกไปเป็นเม็ดเลือดแดง
ยา epoetin (EPO) จัดเป็นยาในกลุ่ม erythropoiesis stimulating agents (ESAs) ยา epoetin ในบัญชียาหลักแห่งชาติมี2 ชนิด ได้แก่ epoetin alfa และ epoetin beta
Epoetin (EPO) เพิ่มความเสี่ยงต่อการเสียชีวิต
การอุดกั้นหลอดเลือดดำและหลอดเลือดแดงเป็น
เหตุให้เกิดโรคของหัวใจและหลอดเลือดที่ร้ายแรง
ความดันเลือดสูง (พบได้ 5% ถึง 24%) (ซึ่งอาจนำไปสู่ภาวะความดันเลือด สูงขั้นวิกฤต (hypertensive crisis) hypertensive encephalopathy และการชักแบบ generalisedtonicclonic seizures ซึ่งต้องการการรักษาอย่างเร่งด่วน)
Blood and Blood Products
เลือดรวม (Whole blood)
คือเลือดที่เจาะเก็บจากผู้บริจาคโดยตรง บรรจุในถุงปลอดเชื้อ โดย 1 unit มีประมาณ 350-450 cc มีค่า hematocrit อย่างน้อย 33% มีส่วนประกอบของเลือดทุกชนิด
เม็ดเลือดแดงเข้มข้น Packed red cell (PRC)
คือเลือดที่ปั่นแยกเอา plasma ออก โดย 1 unit มีประมาณ 250 cc มีค่า
hematocrit เท่ากับหรือน้อยกว่า 80% มีความหนืดสูงกว่าเลือดรวม
ลดความหนืดได้โดยการเจือจางด้วย 5%DN/2, 5%DNSS หรือ NSS 100 cc/เลือด 1 unit
เกล็ดเลือดเข้มข้น Platelet concentrate
มีจำนวนเกล็ดเลือดมาก เม็ดเลือดขาวน้อย มีพลาสม่าบ้างไม่มาก 1 unit มีประมาณ 50 cc มีอายุประมาณ 5 วัน เก็บที่อุณหภูมิ 20-24°c และต้องเขย่าตลอดเวลาเพื่อป้องกันการจับกลุ่มกัน โดย platelet 1 unit สามารถเพิ่ม platelet ในร่างกายได้ 7,000-10,000/mm3
ควรให้กลุ่มเดียวกับเลือดของผู้ป่วยมิฉะนั้นจะท าให้ platelet มีอายุสั้นและนับจำนวนได้น้อย นอกจากนี้ยังอาจพบปฏิกิริยาเม็ดเลือดแดงแตกได้ในยูนิตหลัง ใช้ในภาวะ platelet ต่ำ
พลาสม่ารวมชนิดแช่แข็ง Fresh frozen plasma (FFP)
พลาสม่าแยกส่วน Cryoprecipitate
เป็นพลาสม่าที่ได้จากการนำ FFP มาละลายแล้วปั่นแยกส่วนได้พลาสม่าส่วนตะกอนซึ่งมี factor ในการแข็งตัวของเลือด
ภาวะแทรกซ้อนจากการให้เลือด
ปฏิกิริยาที่ไม่เกี่ยวข้องกับภูมิคุ้มกัน
ภาวะแทรกซ้อนจากการให้เลือดมากๆ
ปฏิกิริยาที่เกิดจากภูมิคุ้มกัน
นางสาวดรุณี ซังยืนยง เลขที่30 รหัสนักศึกษา63126301030