Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยการเรียนรู้ที่8 การใช้ยาในผู้สูงอายุ - Coggle Diagram
หน่วยการเรียนรู้ที่8 การใช้ยาในผู้สูงอายุ
แนวปฏิบัติของพยาบาลในการส่งเสริมการใช้ยาอย่างถูกต้องในผู้สูงอายุ
1.ประเมินเกี่ยวกับประวัติการใช้ยาของผู้สูงอายุอย่างครอบคลุม
2.ประเมินความเข้าใจของผู้สูงอายุเกี่ยวกับการใช้ยา
3.ให้ความรู้เกี่ยวกับผลกระทบการใช้ยาหลายชนิด ค่าใช้จ่าย การใช้ยาสมุนไพรที่ไม่เหลือยาหลายชนิดที่ไม่สมเหตุสมผล
4.ให้ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการเปลี่ยนแปลงของร่างกายในวัยสุงอายุ
5.ให้ความรู้เกี่ยวกับจุดประสงค์ในการให้ยาแต่ละชนิดการออกฤทธิ์ของยา อาการข้างเคียงที่อาจเกิดขึ้น
6.อธิยาบความหมายของคำที่เกี่ยวข้องกับการใช้ยา
7.อธิบายเกี่ยวกับการเสื่อมสภาพและการหมดอายุของยา
8.จัดเตรียมอุปกรณ์ต่างๆที่ช่วยส่งเสริมให้ผู้สูงอายุสามารถใช้ยาได้อย่างถูกต้อง ปลอดภัย
9.ประเมินครอบครัวผู้ดูแลใกล้ชิดผุ้สูงอายุเกี่ยวกับความรู้ของการใช้ยาพร้อมทั้งให้ความรู้เกี่ยวกับการใช้ยาของผู้สูงอายุ
10.แนะนำให้ผู้สูงอายุและญาติให้ปรึกษาแพทย์และเภสัชกรทุกครั้ง
11.หากพยาบาลประเมินพบว่าผู้สูงอายุมีอาการแสดงจากผลข้างเคียงของยา หรือการเกิดปฏิกิริยาต่อกันของยา
12.การส่งเสริมการรักษาจากการไม่ใช้ยาผู้สูงอายุบางรายดดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้สูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อม
13.การประเมินและการทบทวนการบริหารยาของผุ้สูงอายุและผู้ดูแลโดยเฉพาะอย่างยิ่งในพยาบาลที่ปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยใน
14.ส่งเสริมการรับประทานอาหารที่มีส่วนสนับสนุนการดูดซึมยา
15.จัดโปรแกรมการสอนเพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับการใช้ยาอย่างถูกต้องสมเหตุสมผล
ปัยหาการใช้ยาในผุ้สูงอายุ
1.กระบวนการเปลี่ยนแปลงของร่างกายจากกระบวนการชราที่ส่งผลต่อเภสัชจลศาสตร์และเภสัชพลศาสตร์
2.การใช้ยาหลายชนิดร่วมกันหลายขนาดเนื่องจากแพทย์หลายคนส่งผลให้เกิดปฏิกิริยาของยาต่อผู้ป่วยและการเกิดปฏิกิริยาต่อกันของยาต่อยา
3.ความผิดพลาดจากตัวผู้ใช้ยา (human eror)
ปัจจัยที่มีผลทำให้เกิดปัญหาการใช้ยา
ปัจจัยที่เกี่ยวกับผู้สูงอายุ
กระบวนการเปลี่ยนแปลงของร่างกายจากกระบวนการชราที่ส่งผลต่อเภสัชจลศาสตร์และเภสัชพลศาสตร์
ปัจจัยด้านพฤติกรรมการใช้ยาของผุ้สูงอายุ
การใช้ยาด้วยตนเอง (self-medication)
ความร่วมมือในการใช้ยา (medication actherence)
การเปลี่ยนแปงทางเภสัชจลวิทยาในผู้สูงอายุ (Pamacologicachang in elderly)
1.เภสัชจลศาสตร์ (Phamacokinetic)
การดูดซึมยา (Drug absorption)
การกระจายตัวของยา (Drug distribution)
เมตะบอลิซึมของยา (drug metabolism)
การขับถ่ายทางไต (renal excretion)
2.เภสัชพลศาสตร์ (Pamacodynamic change)
การศึกาาการออกฤทธิ์ของยาต่อร่างกายหรือการที่ยามีผลต่อร่างกายเกี่ยวข้องทั้งผลทางด้านชีวเคมีและสรีรวิทยาของยา
กลุ่มยาที่ใช้บ่อยและอาจทำให้เกิดผลข้างเคียงหรืออันตราย ยาที่เกิดปฏิสัมพันธ์ระหว่างยาและการพยาบาล
ยานอนหลับ (hypnotic drugs)
Benzodiazepines barbiturates
ง่วงงุนงง สับสน กดประสาทส่วนกลางกดศูนย์การหายใจ
ผู้สูงอายุมีภาวะสมองเสื่อม ควรหลีกเลี่ยงยากลุ่มนี้เพราะอาจทำให้สับสนมากยิ่งขึ้น
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด (hypoglycemic agent)
chlorpropamide
ภาวะน้ำตาลต่ำ ภาวะโซเดียมต่ำ ขาดสารอาหารและแร่ธาตุ
ผู้สูงอายุควรหลีกเลี่ยงอาการดังกล่าวหากจำเป็นต้องการใช้ยา กลุ่มดังกล่าวพยาบาลควรสังเกตุอาการแสดงภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ
ยาที่มีผลต่อหัวใจและหลอดเลือด (Cadiovascular drug)
thaiazides
โปแตสเซียมต่ำ น้ำตาลในเลือดและกรดยูริกสูง
พยาบาลควรสังเกตุภาวะโปแตสเซียมต่ำ
Beta blocker
เลือดไปเลี้ยงแขนยาลดลง
แนะนำหรือกระตุ้นให้ผู้สูงอายุออกกำลังกาย
Calcium chanel blocker
ไม่มี จึงแนะนำให้ใช้ยากลุ่มนี้
แนะนำให้ผู้สูงอายุดื่มน้ำมาก ป้องกันท้องผูก
Didoxin
หัวใจเต้นผิดจังหวะทำให้เสียชีวิต
ยากลุ่มนี้ทำให้หัวใจเต้นช้าลง หากผู้สูงอายุได้รับยากลุ่มนี้พยาบาลควรจัดชีพจรของผู้ป่วย
ยาต้านดรคจิตโรคซึมเศร้า (antipsychotic and antiderpressant drug)
lithium
พิษต่อระบบประสาท
ห้ามใช้ในผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจตายจากหลอดเลือดอุดตัน
amitriptylline
postural hypotension ความจำเสื่อมเฉียบพลัน
พยาบาลควรระวังอาการ postural hypotension หลงลืม
ยาระงับความปวดและลดการอักเสบ (analgesic and antiinflammatorydrugs)
analgesic and antiinflammatory
กดศูนย์การหายใจ แผลในระบบทางเดินอาหาร
ติดตามการวัดสัญญาณชีพผู้สูงอายุโดยเฉพาะการหายใจ สังเกตุอาการเิกดแผลในทางเดินอาหาร
ยาต้านจุลชีพ (antimicrobial drug)
amionoglycoside group (gentamicin kanamicin)
ค่าครึ่งชีวิตนานเป็น 2 เท่า จึงทำให้เป้นพิษต่อไตมาก
ควรให้ยาอย่างช้าๆ เฝ้าระวังอาการแสดงไตวาย
ยาลดความดันโลหิตสูง(antihypertensive agent)
ACE-inhibitors
ความดันโลหิตต่ำลงขณะเปลี่ยนท่า นั่งนอนเป็นยืน
ติดตามระดับความดันโลหิตต่ำอย่างสม่ำเสมอ เฝ้าระวังการพลัดตกหกล้มจากการเปลี่ยนท่าอย่างฉลับพลันของผู้สูงอายุ
ยาต้านชัก (anti convulsant)
phenobarbital
ทำให้เกิดภาวะพร่องวิตามินดี เกิดกระดูกเปราะ