Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Chest Injury :red_flag:, เสี่ยงต่อภาวะพร่องออกซิเจนเนื่องจากพื้นที่แลกเปลี…
Chest Injury :red_flag:
ข้อมูลส่วนตัว
-
-
-
U/D chronic alc driking
เมื่อหยุดดื่ม หรือเกิดการขาดแอลกอฮอล์ (withdrawal) จะเกิด hyperexcitability อย่างรุนแรง จากการเสียสมดุลระหว่างระบบกระตุ้นและยับยั้ง จนอาจส่งผลทำให้ neuron ตาย เนื่องจากถูกกระตุ้นมากเกินไป
เกิดการ up-regulation ของ NMDA receptor มากขึ้น เมื่อถูกกระตุ้นด้วย glutamate จึงเพิ่ม cationic conductance ส่งผลให้ผู้ดื่มต้องดื่มแอลกอฮอล์ในปริมาณเพิ่มมากขึ้น เพื่อให้เกิดผลต่อสมองเท่าเดิม
จะเกิดการ tolerance ซึ่งทำให้ลดการทำงานของ GABA system บริเวณ
synapse ทำให้ฤทธิ์การยับยั้งของ GABA ที่ postsynaptic neuron ลดลง และยังมีผลทำให้เกิด neuro adaptation
นอกจากนี้ยังทำให้เกิด withdrawal symptoms อื่น ๆ เช่น วิตกกังวล (anxiety) มือสั่น ตัวสั่น (tremor) การรับรู้ผิดปกติ (disorientation) กระสับกระส่าย (agitation) เพ้อ (delirium) เห็นภาพ หรือ ได้ยินเสียงหลอน (hallucinations) และอาการชักเกร็งกระตุก (grand mal seizures) เป็นต้น
การตกจากที่สูง เป็นการการบาดเจ็บแบบ
blunt chest injury จากแรงกระแทก หรือชนิดที่ไม่มีแผลทะลุเข้าทรวงอก จากแรงกระแทก มีผลทำให้เกิดการบาดเจ็บของอวัยวะภายในทรวงอก โดยการบาดเจ็บอาจทำให้
อวัยวะภายในเกิดซ้ำ หรืออาจรุนแรงจนเกิดการฉีกขาด
การบาดเจ็บทรวงอก
เป็นภาวะที่ผนังทรวงอกและอวัยวะที่อยู่ภายในช่องอก
ได้รับบาดเจ็บจากแรงภายนอกมากระทำต่อทรวงอก
-
- มีภาวะติดเชื้อในน้ำเยื่อหุ้มปอด
-
ข้อมูลสนับสนุน
-
- total ICD content วันแรก blood 2,200 ml
-
-
-
เกณฑ์การประเมินผล
-
- ฟังเสียงปอด พบ Lung clear
- WBC = 5,000-10,000 cell/mm3
-
-
- ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการอยู่ในเกณฑ์ปกติ
- ผลการตรวจพิเศษ
- Chest x-ray พบ effusion ลดลง, pleural fluid profile ลดลง และ CT chest พบ loculated left pleural fusion ลดลง
- ไม่มีอาการและอาการแสดงของการติดเชื้อ เช่น
ไข้สูง เหนื่อยหอบ ไอ เสมหะ เป็นต้น
กิจกรรมการพยาบาล
- ประเมินอาการและอาการแสดงของการติดเชื้อ เช่น
ไข้สูง เหนื่อยหอบ ไอ เสมหะ เป็นต้น
เพื่อเฝ้าระวังและให้พยาบาลอย่างเหมาะสม
- ประเมินและบันทึกสัญญาณชีพทุก 1 ชั่วโมง
และประเมิน O2 sat
เพื่อประเมินการเปลี่ยนแปลงหรือความผิดปกติของร่างกาย
- จัดท่านอนศีรษะสูง (Fowler's position) เพื่อให้ปอดขยายตัวได้เต็มที่
- ดูแลให้ได้รับออกซิเจน O2 Canula 6 LPM
เพื่อให้ได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
- ดูแลให้ได้รับยา Bromhexine เพื่อละลายเสมหะ
และติดตามผลข้างเคียงของยา
เช่น ปวดศีรษะ ง่วงนอน เหงื่อออกมาก ผื่นคัน ไอเพิ่มขึ้น เป็นต้น
- ฟังเสียงปอด และดูดเสมหะ ด้วยหลัก Sterile technique เพื่อช่วยให้ทางเดินหายใจโล่ง
- ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยาปฏิชีวนะ Meropenem 1 g ทุก 8 ชม.
เพื่อรักษาการติดเชื้อ และติดตามผลข้างเคียงของยา เช่น ปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย ท้องผูก เป็นต้น
- ดูแลและให้การพยาบาลผู้ป่วยโดยหลัก Aseptic Technique
- ดูแลช่วยเหลือการทำกิจกรรมของผู้ป่วย
เพื่อลดการใช้ออกซิเจนของผู้ป่วย
- ให้ผู้ป่วยพักผ่อนในสิ่งแวดล้อมที่เงียบสงบ
เพื่อให้ผู้ป่วยได้พักผ่อนเพียงพอ
- ติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ได้แก่ CBC, WBC, Neutrophil, Lymphocyte, Globulin,
- ผลการตรวจพิเศษ Chest x-ray, pleural fluid profile และ CT chest เพื่อประเมินภาวะการติดเชื้อ
- จัดวางขวดรองรับสิ่งระบายไว้ต่ำกว่าระดับทรวงอกประมาณ 1-3 ฟุต
- ดูแลไม่ให้สายICDหัก พับงอหรือถูกกดทับ เพราะจะทำให้ความดันย้อนกลับ
- สังเกตและบันทึกสีของสารคัดหลั่งที่ออกมาทางท่อระบายทรวงอก
- เสี่ยงต่อภาวะพร่องออกซิเจนเนื่องจากพื้นที่แลกเปลี่ยนก๊าซลดลง ร่วมกับภาวะซีด
ข้อมูลสนับสนุน
-
O:
- BT=38 C PR 101 bpm
- total ICD content วันแรก blood 2,200 ml
- decrease BS at left lung
ผลตรวจห้องปฏิบัติการ
25/01/64
- Hb = 10.4
- Hct 32 % 31.9 ต่ำ
ผลตรวจพิเศษ
CXR : effusion at left lung
CT chest :
- minimal amout loculated left pleural fusion 1.5 cm
- minimal amout left pneumothorax 2 cm
ภาวะซีด เป็นภาวะที่ร่างกายมีปริมาณเม็ดเลือดแดงในเลือดน้อยกว่าปกติ ทำให้นำออกซิเจนไปยังเซลล์และเนื้อเยื่อในอวัยวะต่าง ๆ ได้น้อยลง
ส่งผลให้ผู้ป่วยมีอาการ ได้แก่ ปลายมือปลายเท้าเย็น อ่อนเพลีย เป็นต้น
-
-
เกณฑ์การประเมินผล
-
- ไม่มีอาการและอาการแสดงของภาวะพร่องออกซิเจน
-
-
-
-
-
-
กิจกรรมการพยาบาล
- ประเมินสัญญาณชีพทุก 4 ชม. เพื่อเฝ้าระวังการเปลี่ยนแปลงของสัญญาณชีพ
- ประเมิน O2 saturation ทุก 4 ชม.
- ประเมินเสียงปอด เพื่อประเมินการคั่งค้างของเสมหะ
- จัดท่านอนศีรษะสูง 30 องศาเซลเซียส (fowler's position)
เพื่อทำให้กระบังลมเคลื่อนต่ำลง ปอดขยายตัวได้เต็มที่เพิ่มพื้นที่ในการแลกเปลี่ยนก๊าซมากขึ้น
- แนะนำให้ผู้ป่วยหายใจเข้าออกลึก ๆ ช้า ๆ (Deep breathing)
เพื่อช่วยส่งเสริมให้ปอดมีการขยายตัวได้อย่างเต็มที่ และพื้นที่ในการแลกเปลี่ยนก๊าซเพิ่มมากขึ้น
- ดูแลการดูดเสมหะ เพื่อให้ทางเดินหายใจโล่ง
และลดการคั่งค้างของเสมหะที่ปอด ทำให้ปอดขยายตัวได้เพิ่มขึ้น
- ดูแลให้ได้รับออกซิเจน O2 Canula 6 LPM
เพื่อให้ได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
- ไม่รบกวนผู้ป่วยมากเกินไป จัดกิจกรรมการพยาบาลให้อยู่ในช่วงเดียวกัน
เพื่อให้ผู้ป่วยได้พักผ่อน และลดการใช้ออกซิเจน
- ดูแลและให้การพยาบาลผู้ป่วยโดยหลัก Aseptic Technique
- ดูแลให้ได้รับยา Bromhexine เพื่อละลายเสมหะ
และติดตามผลข้างเคียงของยา เช่น ปวดศีรษะ ง่วงนอน เหงื่อออกมาก ผื่นคัน ไอเพิ่มขึ้น เป็นต้น
- ดูแลให้ได้รับยา Folic acid เพื่อช่วยในการสร้างเม็ดเลือดแดง
และติดตามผลข้างเคียงของยา เช่น ไม่อยากอาหาร ผื่นคัน
- ดูแลช่วยเหลือการทำกิจกรรมของผู้ป่วย เพื่อลดการใช้ออกซิเจนของผู้ป่วย
- ติดตามผลตรวจห้องปฏิบัติการ Hct,Hb ทุก 4 ชั่วโมง เพื่อประเมินภาวะซีดจากการมีเลือดออก
- ติดตามผลการตรวจพิเศษ Chest X-RAY และ CT scan
- ประเมินอาการและอาการแสดงของภาวะพร่องออกซิเจน ได้แก่ หายใจหอบเหนื่อย ปลายมือปลายเท้าเย็น ผิวหนังซีดเหงื่อออกมาก หายใจถี่ หรือหายใจลำบาก กระสับกระส่าย หัวใจเต้นเร็ว สับสนมึนงง ระดับความรู้สึกตัวลดลง เพื่อเฝ้าระวังภาวะพร่องออกซิเจน
- เสี่ยงต่อภาวะ Hypovolemic Shock เนื่องจากสูญเสียเลือด
- ประเมินอาการและอาการแสดงของภาวะช็อกจากการสูญเสียเลือด เพื่อประเมินและเฝ้าระวังภาวะช็อก
- ชีพจรเบาเร็ว หายใจเร็ว ตัวเย็น กระสับกระส่าย
- หมดสติ มีอาการหายใจหอบเหนื่อย เหงื่อออก เป็นต้น
- ประเมินและบันทึกสัญญาณชีพทุก 1 ชม. แลพประเมิน O2 sat
เพื่อติดตามการเปลี่ยนแปลงของสัญญาณชีพ
- ดูแลให้ได้รับออกซิเจน O2 Canula 6 LPM เพื่อให้ได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
- จัดท่านอนศีรษะสูง (Fowler's position) เพื่อให้ปอดขยายตัวได้เต็มที่
- ดูแลช่วยเหลือการทำกิจกรรมของผู้ป่วยเพื่อลดการใช้ออกซิเจนของผู้ป่วย
- ดูแลให้ได้รับสารน้ำ 5% D/N/2 1000 ml IV drip 100ml/hr
- ดูแลให้ได้รับยา Folic acid เพื่อช่วยในการสร้างเม็ดเลือดแดงและติดตามผลข้างเคียงของยา เช่น ไม่อยากอาหาร ผื่นคัน
- ประเมินและบันทึกสารน้ำเข้า-ออกในร่างกายทุกเวร เพื่อประเมินความสมดุลของสารน้ำในร่างกาย
- สังเกตและบันทึก ลักษณะ สีและจำนวน content ที่ออกจากสาย ICD < 5ml/kg/hr
- เจาะเลือดส่งตรวจ hematocrit ทุก 4 ชั่วโมง เพื่อประเมินภาวะซีดจากการมีเลือดออก
- ติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ ได้แก่ ABG, CBC, Electrolyte เพื่อติดตามการเปลี่ยนแปลง
- ประเมิน SOS เพื่อติดตามการเปลี่ยนแปลงระดับความรู้สึกตัว
-
-
ข้อมูลสนับสนุน
-
- total ICD content วันแรก blood 2,200 ml
-
-
-
เกณฑ์การประเมินผล
- ไม่มีอาการและอาการแสดงของภาวะ Hypovolemic Shock เช่น ชีพจรเบาเร็ว หายใจเร็ว ตัวเย็น กระสับกระส่าย มีอาการหายใจหอบเหนื่อย เหงื่อออก เป็นต้น
-
-
-
-
-
-
-
-
-
- ปัสสาวะควรออกมากกว่า 0.5 cc/kg. /hr.
- ของเหลวที่ออกจาก ICD ลดลง
- ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการอยู่ในเกณฑ์ปกติ
-
-
-
-
- มีภาวะแทรกซ้อนจากภาวะถอนพิษสุรา ได้แก่ Delirium, Electrolyte imbalance, และตับทำงานลดลง
-
-
-
เกณฑ์การประเมินผล
-
-
- ปัสสาวะควรออกมากกว่า 0.5 cc/kg./hr.
- อิเล็กโทรไลต์ในร่างกาย ปกติ
-
-
-
-
-
- ไม่มีอาการและอาการแสดงของ
- ภาวะ K ในเลือดต่ำ เช่น อ่อนล้า กล้ามเนื้ออ่อนแรง หรือกล้ามเนื้อกระตุก เป็นต้น
- ภาวะ Mg ในเลือดต่ำ เช่น กล้ามเนื้อเกร็ง กล้ามเนื้ออ่อนแรง กระตุก สับสน
- ภาวะ Ca ในเลือดต่ำ เช่น เวียนศีรษะ ตะคริว อาการชาบริเวณใบหน้า มือ และฝ่าเท้า
- ผลตรวจห้องปฏิบัติการ LFT อยู่ในเกณฑ์ปกติ
กิจกรรมการพยาบาล
- ประเมินอาการแสดงของภาวะ K, Mg และ Ca ในเลือดต่ำ
เช่น อ่อนล้า กล้ามเนื้ออ่อนแรง หรือกล้ามเนื้อกระตุก ตะคริว อาการชา เป็นต้น
- ประเมินV/S และ GCS และบันทึกทุก 1 ชั่วโมง เพื่อติดตามสัญญาณชีพ
- ดูแลให้ได้รับอาหารผสม BD 300 ml (1:1) x 4 feed เพื่อให้ได้รับสารน้ำสารอย่างอารอย่างเพียงพอ
- ดูแลให้ได้รับ 50 MgSo4 4 ml + NSS 100 ml IV drip in 4 hr.
และสังเกตอาการข้างเคียง เช่น วิงเวียน หน้ามืด หัวใจเต้นช้า หรือหัวใจเต้นเร็ว เป็นต้น
- ดูแลให้ได้รับ valium 10 mg IV เพื่อลดภาวะสับสันวุ่นว่าย และติดตามผลข้างเคียง เช่น ง่วงซึม สับสน เป็นต้น
- ดูแลให้ได้รับ Ativan 1x4 oral pc เพื่อลดอาการวิตกกังวล
และติดตามผลข้างเคียง เช่น ง่วงนอน มึนงง อ่อนเพลีย เป็นต้น
- ดูแลให้ได้รับ Thiamine 100 mg IV ทุก 8 ชม. และ Vitamin B complex 1x3 Oral pc
ช่วยเสริมการทำงานของระบบต่าง ๆ ในร่างกาย และติดตามผลข้างเคียง เช่น ปวดท้อง ท้องเสีย เป็นต้น
- ดูแลให้ได้รับ KCl Elixir 30 ml และสังเกตอาการข้างเคียง
ได้แก่ คลื่นไส้อาเจียน ปวดท้อง อุจจาระร่วง ท้องอืดแน่น ผื่นแดง และปัสสาวะบ่อยหัวใจเต้นช้าผิดปกติ เป็นต้น
- ดูแลให้ได้รับ Lactulose 30 ml. po hs stat. เพื่อให้ถ่ายอุจจาระ ป้องกันของเสียคั่ง
และติดตามผลข้างเคียง เช่น กระหายน้ำมาก ปัสสาวะมาก เป็นต้น
- ดูแลจัดสิ่งแวดล้อมให้สงบ เพื่อลดสิ่งกระตุ้น และให้ผู้ป่วยได้พักผ่อน
- ยกไม้กั้นเตียงขึ้นทุกครั้งเพื่อป้องกันอุบัติเหตุ
- บันทึกการเข้าออกของสารน้ำในร่างกาย รวมทั้งประเมินจากสาย ICD
เพื่อประเมินความสมดุลน้ำเข้าและออก
- ติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ Electrolyte, ABG,LFT เพื่อติดตามอาการ
-