Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูเเลผู้คลอดติดสารเสพติด - Coggle Diagram
การดูเเลผู้คลอดติดสารเสพติด
สารเสพติดที่นิยมใช้ในปัจจุบันเเบ่งออกเป็น2ชนิด
1.กลุ่มกดการทำงานของระบบประสาท
เเอลกอฮอล์ ฝิ่น เฮโรอีน กัญชา มอร์ฟีน
2.กลุ่มกระตุ้นการทำงานของระบบประสาท
สารนิโคติน โคเคน ยาบ้า
ปัจจัยส่งเสริม
ฐานะยากจน
อายุ
ปัญหาครอบครัว
ขาดความรู้
การประเมินเเละการวินิจฉัย
การซักประวัติ อายุ การศึกษา อาชีพ สถานภาพทางเศรษฐกิจ
การสังเกตอาการติดยาของหญิงตั้งครรภ์
ติดยาเสพติด : การดูเเลร่างกายไม่ดี ก้าวร้าว
ฝิ่น มอร์ฟีน เฮโรอีน : ร่างกายซูบผอม ริมฝีปากเขียวคล้ำ
ยาหลอนประสาท : หวาดกลัว ฝ่ามือมีเหงื่ออก
การตรวจร่างกายตามระบบ
ผิวหนัง : มีรอยเข็มฉีดยา รอยเเผล
ศีรษะ ใบหน้า คอ : ริมฝีปากเขียวคล้ำ พบเชื้อราในช่องปาก
ระบบประสาท : ประเมินระดับ ความรู้สึกตัว
ระบบทางเดินอาหาร : ท้องผูก คลื่นไส้ อาเจียน
การใช้เเบบประเมิน DSM-5 ประเมินภาวะขาดยา (withdrawal sign&symptom)
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ : การตรวจปัสสาวะ
บุหรี่
สารนิโคติน คาร์บอนมอนนอกไซด์ในควันบุหรี่
การออกฤทธิ์
ผลต่อมารดา
ทำให้หลอดเลือดหดตัว การเเลกเปลี่ยนก๊าซออกซิเจนระหว่างมารดาเเละทารกน้อยลง มีผลต่อการหลั่ง epinephin หรือ adenaline จากต่อมหมวกไต จึงทำให้เกิดความดันโลหิตสูง หัวใจเต้นเร็วเเละผิดปกติ ยับยั้งการหลั่งของน้ำนม
ผลต่อทารก
มีผลต่อการทำงานของสารสื่อประสาทอะเซติลโคลีน (acetylcholine) โดปามีน (dopamine) และนอร์อีพิเนฟริน (norepinephrine) ส่งผลให้มีการขัดขวางการพัฒนาของเซลล์ประสาทของทารก มีการหดตัวของหลอดเลือดดำ ทำให้เลือดผ่านรกลดลง ทารกจึงได้รับอาหารและออกซิเจนไม่เพียงพอ มีผลให้น้ำหนักแรกเกิดน้อย ขาดสารอาหารในระยะตั้งครรภ์และเพิ่มอัตราการตายมากขึ้น
:warning:เกิดอาการ (fetal tobacco syndrom)
ทารกโตช้า
คลอดก่อนกำหนด
หายใจลำบาก
ปากเเหว่ง เพดาโหว่
เฮโรอีน
ผลกระทบต่อทารกเเรกเกิด
ภาวะออกซิเจนในเลิอดต่ำ
คลอดก่อนกำหนด
พิการเเต่กำเนิด
การเจริญเติบโตช้า
:warning: อาการถอนยาในทารกเเรกเกิด (Neonatal abstinence syndeome)
อาการทางระบบประสาทถูกกด : มีอาการหาว จาม mono reflexลดลง
ระบบประสาทถูกกระตุ้น : จะมีอาการสั่นเเขนขาหรือทั้งตัว
ระบบทางเดินอาหาร : อาเจียน ถ่ายเป็นน้ำ มีไข้
เกิดขึ้น 24-48 ชั่วโมง
ร้องเสียงเเหลม ร้องกวน
ยาที่ใช้
ยานอนหลับ
morphine sulfate
methadone
ยากล่อมประสาท
diazepam
valium
phenobarbital
เเอลกอฮอล์
การออกฤทธิ์ : Ethanol จากเเอลกฮอล์มีชนาดโมเลกุลเล็ก สามารถผ่านรกได้
ผลกระทบต่อทารก
:warning: เกิดอาการ (fetal alcohol syndrome)
ริมฝีบากบนเรียบ
จมูกเเบน
ช่องตาสั้น
เเขนหรือนิ้วมีความพิการ
สมองพัฒนาช้า
มีปัญหาด้านความจำ
พบได้ 6-12ชั่วโมงหลังคลอด
มีอาการสั่น ร้องกวน
การรักษา : ให้ยากันชัก
การพยาบาลหญิงตั้งครรภ์ที่ใช้สารเสพติด
ระยะตั้งครรภ์
อธิบายผลกระทบที่เกิดขึ้น
ให้คำเเนะนะเเละช่วยเหลือเรื่องการหยุดใช้สารเสพติด
3.ประเมินภาวะเเทรกซ้อน วัดสัญาณชีพ ดูการเพิ่มขึ้นของน้ำหนักตัว วัดความสูงของระดับยอดมดลุก ฟังเสียงหัวใจของทารก
4.อธิบายให้เห็นความสำคัญของการมาฝากครรภ์ตามนัด
เเนะนำการรับประทานอาหารที่ครบถ้วนเเละรับประทานอาหารที่มีธาตุเหล็กสม่ำเสมอ
ระยะคลอด
1.ดูเเลเรื่องบรรเทาอาการปวด
เตรียมอุปกรณ์ให้พร้อมสำหรับการคลอด
รายงานเเพทย์เพื่อเตรียมดูเเลทารกเเรกเกิดที่มีอาการของภาวะขาดยา เช่น กระสับกระส่าย ชัก
ระยะหลังคลอด
ถ้ามารดายังคงมีการใช้สารเสพติดในระหว่างตั้งครรภ์เเละหลังคลอด อาจไม่สามารถเลี้ยงลูกด้วยนมเเม่
ก่อนกลับบ้านประเมินความสามารถในการดูเเละทารกเละเเหล่งสนับสนุนช่วยเหลือ
3.อธิบายให้เห็นความสำคัญของการคุมกำเนิดทันทีหลังคลอด
4.ให้กำลังใจมารดาในการเลิกสารเสพติด
เพื่อส่งเสริมการปรับตัวของสตรีตั้งครรภ์เเละครอบครัว ส่งเสริมสัมพันธภาพระหว่างมารดาทารก เเละครอบครัว
สร้างสัมพันธภาพกับหญิงตั้งครรภ์เเละครอบครัวเพื่อให้เกิดความไว้วางใจ
เปิดโอกาสให้สตรีตั้งครรภ์เเละครอบครัวพูดระบายความรู้สึกเเละร่วมวางเเผนการดูทารกภายหลังคลอด
ให้การดูเเลด้านจิตสังคมอย่างเหมาะสม ให้กำลังใจเเละส่งเสริมให้มองตนเองในด้านบวก
ส่งเสริมการปรับตัวเเละการเตรียมพร้อมสำหรับการดูเเลตนเองระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด เเละหลังคลอด โดยเฉพาะเรื่องการเลี้ยงดูบุตร
ติดตามเยี่ยมบ้านเพื่อประเมินภาวะสุขภาพของมารดาเเละทารกทั้งทางด้าน่างกาย เเละจิตใจ
การพยาบาลทารกเเรกเกิด
ปรเมินอาการเเละเฝ้าระวังสังกตอาการของทารกเกี่ยวกับภาวะ RDS,hypoglycemia, hypocalcemia,hypobilirubinemia,เเละ intraventicular hemorrhage
ดูเเลห่อตัวให้ทารก
งดให้นมมารดาเป็นเวลา 2 ชม. หลังจากดื่มสุรา ปริมาณ 10 กรัม เเละงดนมมารดา 4-8 ชั่วโมงหากดื่มสุราในปริมาณมาก
ดูเเลให้ทารกได้รับนมเเคลอรี่สูง
ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ ในรายที่มีอาการท้องเสีย อาเจียน
ประเมินอาการขาดยาทุก 4 ชั่วโมง
ดูเเลให้ได้รับยาตามเเผนการรักษา
จัดทำโดย นางสาวรัชฎาพร รัตนพลแสน รหัสนักศึกษา 6103400023
อ้างอิง
สุรีย์ลักษณ์ สุจริตพงษ์.(2560). ผลกระทบของการเสพสารเสพติดระหว่างตั้งครรภ์.(ออนไลน์). สืบค้นเมื่อวันที่ 14 กันยายน 2564. จากเว็บไซต์ www.si.mahidol.ac.th
สารเสพติดเเละการตั้งครรภ์.(มปพ). สืบค้นเมื่อวันที่ 14 กันยายน 2564. จากเว็บไซต์ www.siamhealth.net
การสูบบุหรี่กับการตั้งครรภ์. (มปพ). สืบค้นเมื่อวันที่ 14 กันยายน 2564. จากเว็บไซต์ www.landlakeknir.is