Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีปัญหาสุขภาพระบบประสาทกล้ามเนื้อและกระดูก,…
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีปัญหาสุขภาพระบบประสาทกล้ามเนื้อและกระดูก
การพยาบาลเด็กที่มีภาวะความดันในช่องกะโหลกศีรษะสูง
Hydrocephalous
น้ำไขสันหลังคั่งในกะโหลกศีรษะบริเวณ Ventricle และชั้น subarachnoid
ภาวะปกติจะมีน ้าไขสันหลังอยู่ประมาณ 50-150 cc/min
สาเหตุ
มีการสร้าง CSF มากกว่าปกติ พบบ่อยคือเนื้องอกของ Choroid Plexus - มีการอุดตันของทางเดินน ้าไขสันหลังระหว่างจุดที่ผลิตและจุดที่ดูดซึม - ผิดปกติของการดูดซึมของนheไขสันหลังจากการอักเสบจาก Congenital Hypoplasia ของ Arachnoid Villi
อาการและอาการแสดง
มีอาการภายใน 2-3เดือน เมื่อวัดรอบอกและรอบศีรษะ
เมื่อมองลงล่างจะเห็นตาขาวมาก( Sun Set Eye
.เบื่ออาหาร เลี้ยงไม่โต สั่น ร้องเสียงแหลม
อาการมากขึ้น ดูดนมลำบาก ตัวผอม หัวโต มีความต้านทานโรคน้อย
การวินิจฉัย
เปรียบเทียบรอบศีรษะกับขนาดปกติของเด็ก
. ถ่ายภาพรังสีกะโหลกศีรษะจะเห็นการแยกของ
Suture และกระดูกกะโหลกศีรษะบาง
Transillumination จะเห็นการแยกของ
Suture
CT Scan
แนวทางการรักษา
การรักษาขึ้นกับสาเหตุและขนาดศีรษะ
การพยาบาล
มีโอกาสเกิดภาวะความดัน ในกะโหลกศีรษะสูง ในระยะ 1-3 วันแรกหลังผ่าตัด เนื่องจากอาจมีการขัดขวางของน้ำ ไขสัน หลังไปสู่ช่องท้อง
มีโอกาสเกิดภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง และเปลี่ยนแปลงทางประสาท เนื่องจากมีการสะสมของน ้าไขสันหลังในกะโหลกศีรษะ
มีโอกาสเกิดการติดเชื้อบริเวณ Shunt ทั้งในระยะแรกหลังผ่าตัดและเมื่อกลับไปดูแลที่บ้าน
คำแนะนำ
สังเกตอาการของความดันในกะโหลกศีรษะเพิ่ม เช่น อาเจียน กระสับกระส่าย กระหม่อมหน้าโป่งตึง
สังเกตบริเวณที่มี Pump ว่าบวมหรือไม่
จัดท่านอนให้เด็กนอนศีรษะสูงเล็กน้อย 30 องศา ห้ามนอนศีรษะต่ำ
แนะนำเกี่ยวกับเรื่องอาหาร
ส่งเสริมพัฒนาการตามวัย
ภาวะความดันสูงในกะโหลกศีรษะ
การเจาะตรวจดูน้ำไขสันหลังถ้าความดันของน้ำไขสันหลังที่เจาะได้สูงเกินกว่า 200 มิลลิเมตรน้ำ ก็เป็นเครื่องบ่งชี้ว่ามีความดันในกะโหลกศีรษะ
การพยาบาล
จัดท่านอนให้ศีรษะสูง 15-30 องศา
ประเมินสัญญาณชีพและการเปลี่ยนแปลงทางระบบประสาททุก 1-2 ชั่วโมง
เพิ่มอัตราการหายใจให้มากกว่าปกติ
ทำให้อุณหภูมิร่างกายอยู่ระหว่าง 32-33 องศาเซลเซียส จะช่วยให้สมองมีการเผาผลาญลดลง
ยา Acetazolamine (diamox) ตามแผนการรักษา
Ventriculostomy
(Hydrocephalus) ก่อนผ่าตัดต้องเฝ้าระวังภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง ในเด็กเล็ก วัดเส้นรอบศีรษะทุกวัน
ป้องกันภาวะ CO2
การพยาบาลเด็ก ที่มีการติดเชื้อในระบสมอง(Intracranial infection)
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ
การติดเชื้อในเยื่อหุ้มสมอง (Meningitis) เป็นบริเวณส่วนที่เป็นเมมเบรน
สาเหตุ
Bacterial meningitis
Purulent meningitis
Tuberculosis meningitis
Viral meningitis
Eosinophilic meningitis เกิดจากพยาธิ
การติดเชื้อรา (fungal meningitis)
ปฏิกิริยาที่ไม่ใช่การติดเชื้อ (non-infection diseases)
เนื้องอก (Malignancy)
2 การบาดเจ็บ/กระทบกระเทือนของสมอง (trauma)
เยื่อ หุ้มสมองอักเสบจากเชื้อแบคทีเรีย
ติดเชื้อผ่านทางกระแสโลหิต
ติดเชื้อลุกลามโดยตรง การติดเชื้อกระจายสู่
Subarachnoid Space
รับเชื้อโดยตรงจากการเปื้อนของเชื้อ
อาการและอาการแสดง
อาการที่แสดงว่ามีอาการติดเชื้อ
อาการที่แสดงว่ามีการระคายของเยื่อหุ้มสมอง(Meningeal Irritation)
อาการที่แสดงถึงภาวะแทรกซ้อน เช่น สมองบวม
การวนิจฉัย
ประวัติผู้ป่วย, การตรวจห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ เช่น ตรวจเลือด ย้อมสีน้ำไขสันหลัง CT SCAN ตรวจน้ำไขสันหลัง
การรักษา
การรักษาเฉพาะ
รักษาทั่วไปตามอาการและการรักษาแบบ
ประคับประคอง
รักษาภาวะแทรกซ้อน
การพยาบาล
ดูในการพยาบาลผู้ป่่วยเด็กที่มี ICP และการพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีอาการชัก
ให้ยาปฏิชีวนะ
ประเมินน ้าหนักตัวและภาวะขาดน้ำ
ติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการที่เกี่ยวข้อง
สมองอักเสบ Encephalitis
เป็นการอักเสบของเนื้อสมอง บางครั้งการอักเสบของเนื้อสมองอาจมีการอักเสบของเนื้อเยื่อหุ้มสมองและไขสันหลังเกิดร่วมด้วยก็ได้
สาเหตุ
ไวรัส แบคทีเรีย เชื้อรา ปรสิต หรืออาจเกิดจากปฏิกิริยาต่อวัคซีน สมองอักเสบจากเชื้อไวรัส
พยาธิสภาพ
เชื้อจะเพิ่มจำนวนในบริเวณที่เข้าไป แล้วผ่านเข้าสู่สมองโดยมี ระยะเชื้ออยู่ในกระแสเลือดสั้นมาก ในการตรวจสมองผู้ป วยที่ ถึงแก่กรรม พบมี สมองบวมมาก เลือดคั่ง มีเลือดออกเป็น หย่อม ๆ ในเนื้อสมอง แต่เยื่อหุ้มสมองไม่มีการเปลี่ยนแปลง
อาการและอาการแสดง
ไข้ มักสูงได้มาก ๆ ปวดศีรษะ ปวดต้นคอ คอแข็ง
ซึม
ชัก
กระสับกระส่าย
การหายใจไม่สม ่าเสมอ อาจหยุดเป็นห้วง ๆ
การวินิจฉัยโรค
ประวัติจากผู้เลี้ยงดู
อาการและอาการแสดงดังที่กล่าวข้างต้น
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจน ้าไขสันหลัง
การตรวจคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าสมอง (MRI)
EEG
การรักษา
ดูแลระบบหายใจของผู้ป่ วยให้ปกติ และหายใจสม่ำเสมอ เพื่อป้องกันสมองขาดออกซิเจน
ให้ยาระงับชัก, ยาป้องกันและรักษาความสมองบวมตั้งแต่ระยะแรกๆ, ยานอนหลับ, ยา acyclovir ทางหลอดเลือดดำ, ยาลดไข้, ยาต้านจุลชีพหรือยาปฏิชีวนะ
รักษาสมดุลของปริมาณน ้าเข้า-ออกของร่างกาย
ให้สารสารอาหารที่มีแคลอรีเพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย
ภาวะแทรกซ้อน
มีอาการของโรครุนแรงอาจเสียชีวิต
ความจำเสื่อมและความคิดต่ำกว่าวัย
พฤติกรรมเปลี่ยนแปลง
มีความผิดปกติทางอารมณ์
นางสาวสาวิตรี ไสยาสน์ 621201165