Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เทคนิคและทักษะการสอน :<3: :pen: - Coggle Diagram
เทคนิคและทักษะการสอน
:<3: :pen:
ทักษะ หมายถึงความสามารถในการกระทำบางสิ่งบางอย่างได้ดี มีประสิทธิภาพ หรือ อย่างเชี่ยวชาญ ความเชี่ยวชาญ ความสามารถในการสอนอย่างมีประสิทธิภาพโดยสามารถถ่ายทอดความรู้หรือประสบการณ์ ต่างๆ ให้กับผู้อื่นได้ :star:
การสอน มีผู้ให้ความหมายไว้ต่างๆ ได้แก่ :check:
การสอนเป็นการจัดกระบวนการให้ผู้เรียน :tada:
การสอนเป็นการบอกกล่าวอธิบายแก่ผู้เรียน :fire:
การสอนเป็นการแนะนำเกี่ยวกับความรู้ต่างๆให้กับผู้เรียน :confetti_ball:
เทคนิคการสอน หมายถึง กลวิธีต่างๆที่ใช้เสริมกระบวนการสอน ขั้นตอนการสอน หรือการกระทำต่างๆในการสอนให้มีคุณภาพและประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น เช่น :pencil2:
ในการบรรยายควรใช้สื่อช่วยทำให้เรื่องที่บรรยายชัดเจนขึ้น จึงทำให้การบรรยายนั้นมีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น :unlock:
การแบ่งทักษะการสอน :champagne:
ทักษะขั้นพื้นฐานที่สำคัญ :silhouettes:
เทคนิคการตั้งคำถาม :recycle:
1) คำถามระดับพื้นฐาน :tada:
1.1) คำถามให้สังเกต :confetti_ball:
เป็นคำถามที่ให้ผู้เรียนคิดตอบจากการสังเกต :<3:
เป็นคำถามที่ต้องการให้ผู้เรียนใช้ประสาทสัมผัสทั้งห้าในการสืบค้นหาคำตอบ :<3:
คือ ใช้ตาดู มือสัมผัส จมูกดมกลิ่น ลิ้นชิมรส และหูฟังเสียง :<3:
ตัวอย่างคำถาม :<3:
เมื่อนักเรียนฟังเพลงนี้แล้วรู้สึกอย่างไร :!?:
ภาพนี้มีลักษณะอย่างไร :!?:
พื้นผิวของวัตถุเป็นอย่างไร :!?:
1.2) คำถามทบทวนความจำ :confetti_ball:
เป็นคำถามที่ใช้ทบทวนความรู้เดิมของผู้เรียน :<3:
เพื่อใช้เชื่อมโยงไปสู่ความรู้ใหม่ก่อนเริ่มบทเรียน :<3:
ตัวอย่างคำถาม คือ :red_flag:
วันวิสาขบูชาตรงกับวันใด :warning:
ดาวเคราะห์ดวงใดที่มีขนาดใหญ่ที่สุด : :warning:
เมื่อเกิดอาการแพ้ยาควรโทรศัพท์ไปที่เบอร์ใด :warning:
1.3) คำถามที่ให้บอกความหมายหรือคำจำกัดความ :check: :star:
เป็นการถามความเข้าใจ โดยการให้บอกความหมายของข้อมูลต่าง ๆ :check:
ตัวอย่างคำถาม :check:
คำว่าสิทธิมนุษยชนหมายความว่าอย่างไร :red_flag:
บอกความหมายของ Passive Voice :red_flag:
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาคืออะไร :red_flag:
1.4) คำถามบ่งชี้หรือระบุ :fire:
เป็นคำถามที่ให้ผู้เรียนบ่งชี้หรือระบุคำตอบจากคำถามให้ถูกต้อง :unlock:
ตัวอย่างคำถาม :<3:
ระบุชื่อสัตว์ที่มีกระดูกสันหลัง :checkered_flag:
ประเทศใดบ้างที่เป็นสมาชิก APEC :checkered_flag:
คำถามระดับสูง :pen:
2.1) คำถามให้อธิบาย :tada:
เป็นการถามโดยให้ผู้เรียนตีความหมาย ขยายความ โดยการให้อธิบายแนวคิดของข้อมูลต่าง ๆ
ตัวอย่างคำถาม :star:
เพราะเหตุใดใบไม้จึงมีสีเขียว :check:
นักเรียนควรมีบทบาทหน้าที่ในโรงเรียนอย่างไร :check:
ชาวพุทธที่ดีควรปฏิบัติตนอย่างไร :check:
2.2) คำถามให้เปรียบเทียบ : :tada:
เป็นการตั้งคำถามให้ผู้เรียนสามารถจำแนกความเหมือน – ความแตกต่างของข้อมูลได้ :fire:
ตัวอย่างคำถาม
พืชใบเลี้ยงคู่ต่างจากพืชใบเลี้ยงเดี่ยวอย่างไร :champagne:
สังคมเมืองกับสังคมชนบทเหมือนและต่างกันอย่างไร :star:
2.3) คำถามให้วิเคราะห์ :confetti_ball:
เป็นคำถามให้ผู้เรียนวิเคราะห์ แยกแยะปัญหา จัดหมวดหมู่ วิจารณ์แนวคิด หรือบอกความสัมพันธ์และเหตุผล :tada:
ตัวอย่างคำถาม :lock:
อะไรเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดภาวะโลกร้อน :recycle:
วัฒนธรรมแบ่งออกเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง :star:
สาเหตุใดที่ทำให้นางวันทองถูกประหารชีวิต :question:
2.4) คำถามให้ยกตัวอย่าง :red_flag:
เป็นการถามให้ผู้เรียนใช้ความสามารถในการคิด นำมายกตัวอย่าง :pencil2:
ตัวอย่างคำถาม :question:
ร่างกายขับของเสียออกจากส่วนใดบ้าง :tada:
หินอัคนีสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้อย่างไรบ้าง :pen:
ยกตัวอย่างการเคลื่อนที่แบบโปรเจกไตล์ :explode:
2.5) คำถามให้สรุป :star:
เป็นการใช้คำถามเมื่อจบบทเรียน เพื่อให้ทราบว่าผู้เรียนได้รับความรู้หรือมีความก้าวหน้าในการเรียนมากน้อยเพียงใด :checkered_flag:
ตัวอย่างคำถาม
จงสรุปเหตุผลที่ทำให้พระเจ้าตากสินทรงย้ายเมืองหลวง :pen:
จงสรุปขั้นตอนการทำผ้าบาติค :recycle:
จงสรุปแนวทางในการอนุรักษ์ทรัพยากรน้ำเพื่อให้เกิดคุณค่าสูงสุด :<3:
2.6) คำถามเพื่อให้ประเมินและเลือกทางเลือก :<3:
เป็นการใช้คำถามที่ให้ผู้เรียนเปรียบเทียบหรือใช้วิจารณญาณในการตัดสินใจเลือกทางเลือกที่หลากหลาย
ตัวอย่างคำถาม
ดินร่วน ดินทราย และดินเหนียว ดินชนิดใดเหมาะแก่การปลูกมะม่วงมากกว่ากัน
เพราะเหตุใด :check:
2.7) คำถามให้ประยุกต์ :red_flag:
เป็นการถามให้ผู้เรียนใช้พื้นฐานความรู้เดิมที่มีอยู่มาประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ใหม่หรือในชีวิตประจำวัน :<3:
ตัวอย่างคำถาม :no_entry:
นักเรียนมีวิธีการประหยัดพลังงานอย่างไรบ้าง :<3:
นักเรียนนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิต
ประจำวันอย่างไรบ้าง :<3:
2.8) คำถามให้สร้างหรือคิดค้นสิ่งใหม่ ๆ หรือผลิตผลใหม่ ๆ :red_flag:
เป็นลักษณะการถามให้ผู้เรียนคิดสร้างสรรค์ผลงานใหม่ ๆ ที่ไม่ซ้ำกับผู้อื่นหรือที่มีอยู่แล้ว :fire:
ตัวอย่างคำถาม
กระดาษหนังสือพิมพ์ที่ไม่ใช้แล้ว สามารถนำไปประดิษฐ์ของเล่นอะไรได้บ้าง :fire:
กล่องหรือลังไม้เก่า ๆ สามารถดัดแปลงกลับไปใช้ให้เกิดประโยชน์ได้อย่างไร :fire:
เทคนิคการเข้าสู่บทเรียน :checkered_flag: :checkered_flag:
การเกริ่นนำหรือเตรียมความพร้อม หรือพูดกันโดยทั่วไปว่า “อุ่นเครื่อง” :recycle:
ผู้เข้าร่วมกิจกรรมรู้ว่ากำลังจะทำกิจกรรมใด :fire:
ทำให้ความรู้สึกกังวลว่าจะทำได้หรือไม่ ลดน้อยลงหรือหมดไป :pencil2:
ครูควรจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อให้นักเรียนได้เตรียมความพร้อม :star:
ความหมาย :fountain_pen:
ความหมายของคำว่า “นำ” ตามพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พุทธศักราช 2542 หมายถึง เริ่ม :<3:
ฉะนั้น คำว่า “นำเข้าสู่” ก็เป็นการเริ่มต้นเพื่อไปสู่สิ่งใดสิ่งหนึ่ง ส่วนคำว่า “บทเรียน” :<3:
“การนำเข้าสู่บทเรียน” หมายถึง การเริ่มต้นเพื่อไปสู่เนื้อหาสาระหรือคำสอนที่กำหนดให้เรียน :<3:
วัตถุประสงค์ของการนำเข้าสู่บทเรียน :fire:
การนำเข้าสู่บทเรียนเป็นกิจกรรมที่มีความสำคัญอย่างยิ่ง :beer_mugs:
เพื่อเร้าความสนใจของนักเรียนให้นักเรียนมีความคิดว่ากำลังเรียนเรื่องอะไร และสามารถนำเอาความรู้และเทคนิคเดิมที่มีอยู่มาสัมพันธ์กับเรื่องที่เรียน :tada:
สามารถนำเอาความรู้และทักษะเดิมที่มีอยู่มาสัมพันธ์กับบทเรียนใหม่ ซึ่งทำให้นักเรียนเห็นแนวทางในการเรียนรู้ และจะทำให้นักเรียนเข้าใจบทเรียนใหม่ได้ชัดเจนยิ่งขึ้น :red_flag:
ประโยชน์ของการนำเข้าสู่บทเรียน :star:
สามารถเรียกร้องความตั้งใจของนักเรียนให้พร้อมที่จะเรียน :check:
สามารถเร้าและจูงใจให้นักเรียนคงความสนใจในบทเรียน :check:
สามารถบอกลักษณะและวิธีการสอนของเรื่องที่จะเรียนได้ :check:
สามารถเชื่อมโยงความรู้เดิมกับเรื่องที่จะเรียนต่อไปได้ :check:
ทักษะการนำเข้าสู่บทเรียน :<3:
เมื่อเริ่มเรื่องหรือเริ่มบทเรียนใหม่ เพื่อโยงเข้าสู่เรื่องที่จัดการเรียนรู้ :pencil2:
เมื่อจะมอบหมายการบ้านหรือการทำงาน เพื่อแนะนำวิธีการทำงานนั้น :pencil2:
เมื่อเตรียมการอภิปราย เพื่อแนะนำให้นักเรียนดำเนินการได้ตรงตามเป้าหมาย : :pencil2:
ก่อนที่จะให้นักเรียนดูภาพยนตร์ ภาพนิ่ง วีดิทัศน์ ฟังวิทยุและเทป เพื่อแนะนำให้นักเรียนจับประเด็นของเรื่องที่ดูหรือฟังนั้นได้ :pencil2:
รายละเอียดของช่วงเวลาในการนำเข้าสู่บทเรียน : :tada:
ใช้เมื่อจะเริ่มต้นบทเรียน หรือเริ่มเรื่อง :star:
ใช้นำก่อนอธิบายและซักถามเนื้อหา :star:
ใช้นำก่อนการวิเคราะห์ เปรียบเทียบ และสรุปสัมพันธ์แนวความคิด หรือเนื้อหาสำคัญ :star:
ใช้เพื่อเตรียมการอภิปราย : :star:
ใช้นำเพื่อสื่อความหมาย จุดประสงค์ และวิธีการประกอบกิจกรรมของนักเรียนที่ครูกำหนดให้ทำ :star:
ใช้นำเมื่อจะใช้เทคนิคการสอนแบบศูนย์การเรียน :star:
ใช้นำเมื่อจะใช้สื่อการเรียนการสอน :star:
ใช้ก่อนที่จะเสนอแนะให้นักเรียน เรียนบทเรียนจากภาพสไลด์ แผนที่ ฟิล์มสตริพ ภาพยนตร์ วิทยุ และโทรทัศน์ :star:
ใช้เพื่อสื่อแนวความคิด และวิธีการทำงานที่ได้รับมอบหมายเป็นแบบฝึกหัด หรือการบ้าน และงานค้นคว้านอกเวลา ฯลฯ :star:
ใช้เพื่อนำการแสดงบทบาท เล่าเรื่อง รายงาน หรือการสาธิตประสบการณ์ของนักเรียนเป็นคณะหรือรายบุคคล :star:
ข้อแนะนำในการนำเข้าสู่บทเรียน : :champagne:
ครูควรรู้ประสบการณ์ หรือความรู้เดิมของนักเรียนเพื่อหาวิธีทำนักเรียนสนใจ :pen:
ศึกษาเรื่องที่จะสอน แล้วพิจารณาเลือกกิจกรรมนำเข้าสู่หน่วยให้ผสมกลมกลืนกัน : :pen:
ศึกษากิจกรรมที่จะนำมาใช้ให้ถ่องแท้ เช่น จะเล่านิทานก็ต้องจำเรื่องราวของนิทานให้แม่นยำ ใช้สำนวนภาษาของบทสนทนาในเรื่องให้สนุกสนาน :pen:
เทคนิคการใช้กระดาน
:<3:
ความหมาย :check:
กระดานดำ เป็นอุปกรณ์ในการเขียนที่สามารถใช้ซ้ำได้ โดยสามารถเขียนอักษรหรือวาดภาพได้โดยใช้ชอล์ก หรืออุปกรณ์อื่นๆ ที่สามารถเขียนแล้วลบได้ กระดานดำในสมัยก่อนทำจากแผ่นหินสีดำหรือสีเทาเข้มที่เรียบและบาง :star:
วัตถุประสงค์ :check:
ใช้เพื่อประกอบการอธิบาย สรุป และทบทวนบทเรียน :star:
ใช้เพื่อเปิดโอกาสให้นักเรียนได้แสดงความรู้ ความคิดเห็น และศักยภาพด้านอื่น ๆ เช่น การวาดรูปบนกระดาน :star:
ใช้เพื่อเสริมการใช้สื่ออุปกรณ์อื่น ๆ เช่น เครื่องแอแลซีดีโปรเจคเตอร์ และเครื่องฉายภาพข้ามศรีษะ เป็นต้น :star:
ประโยชน์ของกระดานดำ :check:
ใช้ประกอบการสอน การอธิบาย การทดสอบ สรุป และทบทวนบทเรียน :star:
ใช้ร่วมกับโสตทัศนวัสดุอื่นๆ ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดียิ่งขึ้น :star:
ใช้แสดงข้อเท็จจริง แนวคิด และกระบวนการต่างๆ :star:
คุณสมบัติเด่นของกระดานดำ :check:
สามารถใช้ได้ทุกเวลาและทุกโอกาส :<3:
ไม่ชำรุดเสียหายได้ง่าย :<3:
ผู้เรียนสามารถมองเห็นพร้อมๆ กันได้ทั้งชั้น :<3:
เขียนและลบได้ง่าย :<3:
นำเสนอข้อคิดใหม่ได้ทันที :<3:
ใช้ได้ทั้งครูและนักเรียน :<3:
เทคนิคการอธิบายและเล่าเรื่อง :pen:
การอธิบาย หมายถึง การอธิบายข้อความที่สอน : :smiley:
การเล่าเรื่อง หมายถึง การนำเอาเรื่องราวต่างๆมาเล่าหรือพูดให้ผู้ฟังเข้าใจ :smiley:
การเตรียมการและการเล่าเรื่อง :recycle:
เลือกเรื่องหรือหัวข้อเรื่อง :confetti_ball:
ศึกษาเรื่องหรือหัวข้อนั้นให้ละเอียด :confetti_ball:
สิ่งสำคัญในการเล่าเรื่อง ได้แก่ :champagne:
อ่านเรื่องนั้นให้ตลอดแล้วจับจุดสำคัญ :tada:
ควรใช้ภาษาง่าย :fire:
ลำดับเนื้อเรื่องตั้งแต่ต้นจนจบ :tada:
เตรียมอุปกรณ์ไว้ใช้ให้เหมาะสมกับเนื้อเรื่องแต่ละตอน :tada:
ทำความเข้าใจเกี่ยวกับคำศัพท์ต่าง :<3:
กลวิธีในการเล่าเรื่อง :unlock:
การใช้ท่างประกอบการเล่า เช่น การใช้มือ :confetti_ball:
การใช้ภาษาและน้ำเสียง เช่น เสียงหนักเบา :fire:
การแสดงออกทางสีหน้า เช่น ยิ้มแย้ม โศกเศร้า เป็นต้น :<3:
การใช้อุปกรณ์ประกอบการเล่าเรื่อง เช่น หุ่น หนังตะลุง เป็นต้น :fire:
เทคนิคการเร้าความสนใจ :star:
จุดมุ่งหมายในการเร้าความสนใจ :explode:
สร้างพฤติกรรมที่ดีในอันที่จะทำให้ผู้เรียนสนใจ และไม่เบื่อหน่ายต่อการเรียน :tada:
เลือกหาวิธีการเร้าความสนใจที่เหมาะสมกับบทเรียนและกระตุ้นให้ผู้เรียนอยากเรียนมากขึ้น :unlock:
เพื่อสร้างความมั่นใจในการสอนของผู้สอน :fire:
วิธีการเร้าความสนใจ :confetti_ball:
การใช้ท่าทางประกอบ ท่าทางของผู้สอนในขณะทำการสอน :fire:
การใช้ถ้อยคำและน้ำเสียงที่มีการปรับเปลี่ยนระดับเสียงตามความเหมาะสม :tada:
การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียน การที่ผู้สอนพูดอยู่คนเดียวตลอด :tada:
การใช้สื่อการสอนประกอบ การเรียนรู้ที่ดีนั้นควรจะให้ผู้เรียนได้ใช้ประสาทสัมผัส หลาย ๆ :pen:
การแสดงบทบาทหรือสถานการณ์จำลอง :question:
การใช้เกม เกมในที่นี้เกมที่นำมาใช้ควรเป็นเกมที่ช่วยในการเรียนรู้ :check:
การสาธิต การสาธิตคือการนำเอาวัสดุอุปกรณ์ประกอบการเรียนการสอน :recycle:
คุณลักษณะที่ประเมิน :champagne:
1.1 การสนับสนุนด้วยภาษา ใช้ท่าทาง เช่น ยิ้ม พยักหน้า ก้มศีรษะ ฯลฯ :check:
1.2 การใช้ถ้อยคำและน้ำเสียง เช่น ให้คำชมเชยว่า ดี, พอใช้, ดีมาก ฯลฯ :red_flag:
1.3 การเสริมแรงด้วยคำพูดอื่น ๆ นอกเหนือไปจากคำ ชมเชย :check:
1.4 การให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนการสอน :<3:
1.5 การใช้สื่อประกอบการเรียนการสอน : :unlock:
เทคนิคการยกตัวอย่าง :<3: :star:
วัตถุประสงค์ของการอธิบายและยกตัวอย่าง :<3:
เพื่่อให้ความรู้เเละประสบการณ์ใหม่แก่นักเรียน :<3:
เพื่อช่วยนำทางในการอ่านหนังสือของนักเรียน :<3:
เพื่อมุ่งถ่ายทอดความรู้ให้แก่นักเรียนได้อย่างเต็มที่ในเวลาจำกัด :<3:
เพื่อให้นักเรียนเข้าใจและมีความรู้ที่คงที่และยาวนาน :red_flag:
เพื่อกระตุ้นให้นักเรียนคิดตามในสิ่งที่ครูกำลังอธิบาย :<3:
การยกตัวอย่าง :star:
ครูควรนำตัวอย่างมาประกอบการอธิบาย :star:
เพื่อให้นักเรียนมีความเข้าใจถูกต้อง รวดเร็ว :star:
สาระที่อธิบายมีน้ำหนักน่าเชื่อถือ น่าสนใจ :star:
ตัวอย่างที่นำมาประกอบการอธิบายอาจจะเป็น คำพังเพย สุภาษิต โคลง กลอน คำขวัญ คติพจน์ เหตุการณ์เรื่องราวบุคคล สิ่งของ เป็นต้น :star:
เทคนิคการสรุปบทเรียน :check:
ทักษะการสรุปบทเรียน (Set Closure) :check:
ทักษะในการสรุปบทเรียน หมายถึง ความสามารถในการรวบรวมใจความหรือเนื้อเรื่องที่สำคัญ ๆ ที่ผู้สอนต้องการจะให้ผู้เรียนทราบเข้าด้วยกัน : :smiley:
เพื่อช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจในบทเรียนตามลำดับขั้นตอนที่ถูกต้องและสมบูรณ์ขึ้น :champagne:
หลักในการสรุปบทเรียน :check:
ผู้สอนจะต้องรู้ว่าบทเรียนจะจบลงในลักษณะอย่างไร เพื่อจะได้สรุปบทเรียนได้ ถูกต้องด้วยวิธีการที่เหมาะสม :fire:
ผู้สอนจะต้องรู้ว่าใจความสำคัญของเรื่องนั้นมีอะไรบ้าง เพื่อจะได้สรุปบทเรียนได้ถูกต้องและครอบคลุม :fire:
ผู้สอนจะต้องครุ่นคิดว่าจะสรุปเรื่องที่ผู้เรียนได้เรียนมาแล้วกับสิ่งที่จะสอนให้ใหม่ให้เข้าด้วยกันได้อย่างไร :fire:
การสรุปบทเรียนจะต้องน่าสนใจ เช่น การใช้ความรู้ที่เรียนมาคิดเกี่ยวกับการนำไปแก้ปัญหาที่พบใหม่ : :fire:
พยายามชี้ให้ผู้เรียนเห็นความสัมพันธ์ระหว่างความรู้เดิม สิ่งที่เพิ่งเรียนจบไป การนำไปประยุกต์ใช้และสิ่งที่จะเรียนต่อไปในอนาคต :fire:
ผู้สอนสรุปเรื่องหรือใจความสำคัญเข้าด้วยกันเพื่อให้ผู้เรียนได้รับความรู้อย่างถูกต้องและสมบูรณ์ขึ้น :fire:
ประโยชน์ของการสรุปบทเรียน :check:
1.ประมวลเรื่องราวที่สำคัญที่ได้เรียนไปแล้วเข้าด้วยกัน :<3:
2.เชื่อมโยงกิจกรรมการเรียนการสอนเข้าด้วยกัน :<3:
3.รวบรวมความสนใจของผู้เรียนเข้าด้วยกันอีกครั้งหนึ่งก่อนที่จะจบบทเรียน :<3:
4.สร้างความเข้าใจในบทเรียนให้ดีขึ้น :<3:
5.ช่วยส่งเสริมความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ให้กับผู้เรียน :<3:
คุณลักษณะที่ประเมิน :check:
ใช้วิธีการต่าง ๆ ในการสรุปบทเรียน เช่น ยกตัวอย่าง ใช้การอธิบาย ใช้การถามคำถาม ใช้สื่อประกอบ :tada:
สรุปบทเรียนโดยการเน้นจุดสำคัญของเนื้อหา การใช้คำพูด ท่าทางที่ช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจเรื่องราวต่างๆได้ชัดเจนขึ้น :tada:
วิธีการจบบทเรียนน่าสนใจ : :tada:
วิธีการสรุปบทเรียนช่วยกระตุ้นให้ผู้เรียนกลับมาสนใจในบทเรียนอีกครั้งหนึ่ง : :tada:
มีการเว้นระยะเพื่อให้ผู้เรียนคิดและสรุปบทเรียน : :tada:
มีการส่งเสริมให้กำลังใจ การใช้วาจา ท่าทาง สนับสนุนให้ผู้เรียนเกิดความรู้สึกว่าประสบความสำเร็จในการสรุปบทเรียน :tada:
การกระตุ้นให้ผู้เรียนร่วมสรุปเนื้อหา ส่งเสริมให้ผู้เรียนแสดงความคิดเห็นเพิ่มเติมโดยการสนับสนุนหรือขัดแย้ง :tada:
สรุปรวบยอดได้ตรงตามจุดมุ่งหมายของบทเรียน และได้ใจความสำคัญของเนื้อหา : :tada: