Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประกันคุณภาพการศึกษา, มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก - Coggle Diagram
การประกันคุณภาพการศึกษา
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ทางการศึกษา
มาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัย
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
2.1 มีหลักสูตรครอบคลุมพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน สอดคล้องกับบริบทของท้องถิ่น
2.2 จัดครูให้เพียงพอกับชั้นเรียน
2.3 ส่งเสริมให้ครูมีความเชี่ยวชาญด้านการจัดประสบการณ์
2.4 จัดสภาพแวดล้อมและสื่อเพื่อการเรียนรู้อย่างปลอดภัย และเพียงพอ
2.5 ให้บริการสื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อการเรียนรู้เพื่อสนับสนุนการจัดประสบการณ์
2.6 มีระบบบริหารคุณภาพที่เปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วม
มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ
3.1 จัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการทุกด้านอย่างสมดุลเต็มศักยภาพ
3.2 สร้างโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรงเล่นและปฏิบัติอย่างมีความสุข
3.3 จัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับวัย
3.4 ประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริง
มาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน
1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน
1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
2.1 มีเป้าหมาย วิสัยทัศน์และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนดชัดเจน
2.2 มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา
2.3 ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุกกลุ่มเป้าหมาย
2.4 พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ
2.5 จัดสภาพแวดล้องทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ
2.6 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
3.1 จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง
และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้
3.2 ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศและแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้
3.3 มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก
3.4 ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบและนำผลมาพัฒนาผู้เรียน
3.5 มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาแ
ละปรับปรุงการจัดการเรียนรู้
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานศูนย์การศึกษาพิเศษ
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน
1.1 ผลการพัฒนาผู้เรียน
1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
2.1 มีเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนดชัดเจน
2.2 มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา
2.3 ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุกกลุ่มเป้าหมาย
2.4 พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ
2.5 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ
2.6 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
3.1 จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง
และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้
3.2 ใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้
3.3 มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก
3.4 ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบและนำผลมาพัฒนาผู้เรียน
3.5 มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้
การพัฒนาคุณภาพทางการศึกษา
การควบคุมคุณภาพ (Quality Control) เป็นการกำหนดมาตรฐานคุณภาพและการพัฒนาสถานศึกษาให้เข้าสู่มาตรฐาน
การตรวจสอบคุณภาพ (Quality Assessment) เป็นการตรวจสอบและติดตามผลการดำเนินงานให้เป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนด
การประเมินคุณภาพ (Quality Audit) เป็นการประเมินคุณภาพของสถานศึกษาโดยหน่วยงานที่กำกับดูแลในเขตพื้นที่และหน่วยงานต้นสังกัด
ระบบประกันคุณภาพการศึกษา มีหลักการที่ต้องพิจารณา
ระบบประกันคุณภาพ
มาตรฐานการศึกษาจะต้องสอดคล้องกับเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
การประกันคุณภาพมีภารกิจหลัก 4 ส่วน
3.1 การกําหนดมาตรฐาน
3.2 การประเมินภายใน
3.3 การประเมินภายนอก
3.4 การนําผลการประเมินไปใช้เพื่อการปรับปรุง
การประกันคุณภาพการศึกษาของต่างประเทศ
ประเทศนิวซีแลนด์
โดยมีระบบการติดตามประเมินผล
เพื่อมุ่งปรับปรุงพัฒนาคุณภาพใน 3 ลักษณะ
การติดตามประเมินผลภายใน (Internal Evaluation)กระทรวงศึกษาธิการ มีการติดตามประเมินผลแบ่งเป็น 2 ระดับ คือ ระดับกระทรวง และระดับสถานศึกษา
การติดตามประเมินผลภายนอก (External Evaluation)
โดยสำนักงานตรวจสอบคุณภาพทางการศึกษา (Education Review Office: ERO)
สำนักงานรับรองคุณวุฒิทางการศึกษาของนิวซีแลนด์(New Zealand
Qualifications Authority: NZQA)
กระบวนการประเมินคุณภาพภายนอกของ ERO สามารถสรุปได้ดังนี้
ERO ประสานงานการประเมินกับโรงเรียน
ผู้ประสานงานคณะประเมินติดต่อโรงเรียนเพื่อนัดหมายและขอข้อมูล
คณะผู้ประเมินประชุมร่วมกับโรงเรียนและคณะกรรมการโรงเรียน
การตรวจเยี่ยมโรงเรียน
คณะผู้ประเมินรายงานผลการประเมินโดยวาจา
คณะผู้ประเมินส่งรายงานการประเมินฉบับร่างให้แกโรงเรียน ภายใน 15 วัน
คณะผู้ตรวจรายงาน (Peer Reviewer) ตรวจสอบความถูกต้อง
ผู้จัดการเขต ERO รับรองรายงานการประเมิน
9.ERO รายงานผลการประเมินต่อสาธารณชน ภายใน 2 สัปดาห
ประเทศอังกฤษ
ระดับสถานศึกษาสถานศึกษาทุกระดับมีหน้าที่รับผิดชอบในการประเมินตนเองโดยสถานศึกษาแต่ละแห่งและแต่ละระดับจะมีหน้าที่รับผิดชอบแตกต่างกัน ดังนี้ ก่อนการศึกษาภาคบังคับ ประถมศึกษา และมัธยมศึกษา ในอังกฤษ และเวลส์
ก่อนการศึกษาภาคบังคับ ประถมศึกษา และมัธยมศึกษา
พระราชบัญญัติการศึกษา (โรงเรียน) พ.ศ. 2535 และ 2536 พระราชบัญญัติการตรวจสอบโรงเรียน พ.ศ. 2539 ได้นำ ระบบการตรวจสอบโรงเรียนอย่างละเอียดและครอบคลุมมาใช้ โดยโรงเรียนในอังกฤษและเวลส์ จะต้องได้รับการตรวจสอบเป็นประจำ ตามวาระ โดยคณะผู้ตรวจการอิสระที่ได้รับสัญญาจ้างจากสำ นักงานมาตรฐานการศึกษา (Office for Standards in Education - OFSTED) ในอังกฤษ และสำ นักงานผู้ตรวจการของสมเด็จพระราชินี (Office of Her Majesty’s Chief Inspector) ในเวลส์
การศึกษาต่อเนื่องสภาจัดสรรงบประมาณการศึกษาต่อเนื่องในอังกฤษและเวลส์ ทำหน้าที่ตรวจสอบวิทยาลัยทุกแห่ง และจัดพิมพ์รายงานคุณภาพของสถาบันแต่ละแห่งทุก 4 ปี เพื่อรักษามาตรฐานและคุณภาพของการศึกษาต่อเนื่อง
การอุดมศึกษาใน พ.ศ. 2540 ได้มีการจัดตั้งสำนักงานประกันคุณภาพ (Quality Assurance Agency - QAA) ขึ้น โดยมุ่งหมายให้การประกันคุณภาพที่ดำ เนินการอยู่ในอังกฤษ เวลส์ ไอร์แลนด์เหนือ และสกอตแลนด์เข้ามาอยู่ในกรอบเดียวกันทั่ว สหราชอาณาจักร ภารกิจของสำ นักงานประกันคุณภาพก็เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนเกิดความเชื่อมั่นว่า คุณภาพและมาตรฐานการอุดมศึกษาได้รับการคุ้มครองและส่งเสริม
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก
1.1 มีพัฒนาการด้านร่างกายแข็งแรง
1.2 มีพัฒนาการด้านอารมณ์จิตใจควบคุม
1.3 มีพัฒนาการด้านสังคม
1.4 มีพัฒนาการด้านสติปัญญา