Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเขียนรายงานทางวิชาการ - Coggle Diagram
การเขียนรายงานทางวิชาการ
ความหมายของรายงานทางวิชาการ
ผลการศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งต่างๆ
เรียบเรียงโดยมีการอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูล
การเขียนรายงานตามรูปแบบ ม.รภ.สร.
รายงาน
ภาคนิพนธ์
วิทยานิพนธ์
ผลงานทางวิชาการ
ส่วนประกอบของรายงานทางวิชาการ
ส่วนต้น
หน้าปก
ไม่ต้องใส่ตราสถาบัน
ส่วนที่ 1
ชื่อเรื่อง
บนสุดหน้ากระดาษ
ขนาด 20 หนา
ส่วนที่ 2
กึ่งกลางหน้ากระดาษ
พิมพ์ชื่อและนามสกุล
ขนาด 18 หนา
ส่วนที่ 3
ล่างสุดกระดาษ
มี 3 บรรทัด
บรรทัด 1 วิชาที่ทำรายงาน
บรรทัด 2 สถาบันศึกษาผู้ทำรายงาน
บรรทัด 3 ภาคเรียนและปีการศึกษา
ขนาด 18 หนา
ใบรองปก
กระดาษเปล่า
เรียงถัดจากหน้าปก
ปกใน
ถัดจากรองปก
ข้อความเดียวกันกับหน้าปก
เนื้อหาน้อยไม่จำเป็นต้องมีปกใน
คำนำ
ย่อหน้าแรก
วัตถุประสงค์ของการทำรายงาน
ขอบเขตเนื้อหา
วิธีการศึกษาค้นคว้า
ย่อหน้าสอง
ขอบคุณผู้ให้การช่วยเหลือ
ขอบคุณผู้ให้ข้อมูล
ส่วนล่างสุด
เว้น 1 บรรทัด
เยื้องขวามือเลยกึ่งกลางหน้ากระดาษ
พิมพ์ชื่อ สกุล เดือน ปี ที่ทำรายงานสำเร็จ
สารบัญ
เรียงหัวข้อสำคัญของเนื้อเรื่อง
ระบุหัวข้อและเลขหน้า
อาจมีสารบัญภาพ สารบัญตาราง
เนื้อหา
บทนำ
กล่าวถึงหลักการและเหตุผล
กล่าวนำร่องผู้อ่าน
เนื้อหา
ความรู้ที่ได้จากการศึกษาข้อมูล
ส่วนสำคัญที่สุด
มีอ้างอิงแทรกในเนื้อหา
มีภาพประกอบ,แผนภูมิ
สรุป
สรุปเนื้อหาที่นำเสนอข้างต้น
ส่วนประกอบท้าย
บรรณานุกรม
แหล่งข้อมูลที่นำมาเรียบเรียง
เรียงต่อจากส่วนเนื้อหา
เรียงลำดับอักษร ก-ฮ
ถ้าผู้แต่งมียศ บรรดาศักดิ์ให้คั่นด้วยจุลภาค
ถ้าผู้แต่งมีตำแหน่งทางวิชาการไม่ต้องนำมาใส่
ภาคผนวก
ข้อมูลเพิ่มเติมนอกเหนือจากเนื้อหา
มีความสัมพันธ์กับเนื้อหา
ภาคผนวกมีหรือไม่มีก็ได้
อภิธานศัพท์
อธิบายศัพท์เฉพาะ
เขียนโดยเรียงลำดับอักษร
อภิธานศัพท์มีหรือไม่มีก็ได้
ดรรชนี
บัญชีคำ
เรียงตามลำดับอักษร
คำสำคัญที่เขียนไว้ในรายงาน
มีเลขหน้าของคำที่ปรากฏในรายงาน
ดรรชีมีหรือไม่มี็ได้
ขั้นตอนการเขียนรายงานทางวิชาการ
1) การเลือกเรื่อง
2) การกำหนดขอบเขตเรื่อง
3) การตั้งชื่อเรื่อง
4) การอ่านเอกสารเพื่อค้นคว้า
5) การทำโครงเรื่อง
6) การรวบรวมข้อมูล
7) การเขียนเนื้อหา
8) การเขียนอ้างอิง
ความหมายกาารอ้างอิง
อ้างอิงมี 2 รูปแบบ
แบบแทรกในเนื้อหา
แบบแยกเนื้อหา
ข้อความที่ใช้เพื่อบอกแหล่งที่มาข้อมูล
ระบุ แหล่ง ปี หน้า
หลักการเขียนอ้างอิงในเนื้อหา
เอกสารระบุผู้แต่งเป็นชื่อบุคคล
ผู้แต่ง 1 คน
ลงเฉพาะชื่อ สกุล
ผู้แต่ง 2 คน
เชื่อมคนที่ 1กับ2ด้วยคำว่า และ
ผู้แต่ง 3 คน
คนที่ 1กับ2 คั่นด้วยจุลภาค
คนที่ 2กับ3 เชื่อมด้วยและ
ผู้แต่งมากกว่า 3 คน
ลงชื่อเฉพาะผู้แต่งที่ 1
เชื่อมคนที่ 1ด้วย และคนอื่นๆ
เอกสารระบุผู้แต่งเป็นชื่อหน่วยงานระบุหน่วยงาน
ข้อมูลที่นำมาจากอินเทอร์เน็ต
ถ้ามีชื่อผู้แต่งและปีที่เผยแพร่ลงตามปรากฏ
หากไม่มีชื่อผู้แต่งและปีที่เผยแพร่
ลงเฉพาะชื่อบทความ
ลงปีที่สืบค้น
ตัวอย่างการอ้างอิงแบบนามปี
แทรกในเนื้อหาด้านหน้า
1) นำชื่อผุ้แต่งไว้ก่อน
2) ตามด้วยข้อมูลเลขปี (ถ้าไม่มีใส่ ม.ป.ป.)
3) เลขหน้าอยู่ในวงเล็บ
คำเชื่อมหลังอ้างอิง
กล่าวว่า
กล่าวถึง
ให้คำนิยาม
แบ่งประเภท
ตัวอย่าง สิทธา พินิจภูวดล (2548 : 165) กล่าวว่า...
แทรกในเนื้อหาด้านหลัง
ตัวอย่าง ...(สิทธา พินิจภูวดล. 2548 : 165)
9) การเขียนบรรณานุกรม
แบบที่ 1
ชื่อผู้แต่ง.//(ปีที่พิมพ์).//ชื่อหนังสือ.//เล่มที่ (ถ้ามี).//ครั้งที่พิมพ์ (ถ้ามี).//ชื่อชุดหนังสือและล าดับที่
///////(ถ้ามี). //สถานที่พิมพ์/:/ส านักพิมพ์.
แบบที่ 2
ชื่อผู้แต่ง.//ชื่อหนังสือ.//เล่มที่ (ถ้ามี).//ครั้งที่พิมพ์ (ถ้ามี).//ชื่อชุดหนังสือและล าดับที่ (ถ้ามี).
///////สถานที่พิมพ์/:/ส านักพิมพ์,//ปีที่พิมพ์.
ไม่ปรากฏปีที่พิมพ์ลง (ม.ป.ป.)
ไม่ปรากฏสถานที่พิมพ์ (ม.ป.ท.)
ข้อมูลที่ได้จากอินเทอร์เน็ต
ผู้เขียนบทความ.//(ปี).//“ชื่อบทความ.”/[ประเภทของสื่อที่เข้าถึง].//เข้าถึงได้จาก/:/
///////แหล่งข้อมูล/สารนิเทศ สืบค้น วันที่ เดือน ปีที่สืบค้น.
เครื่องหมายที่ใช้ในการเขียนรายงานทางวิชาการ
. จุด
ใส่หลังตัวเลขหรืออักษรบอกลำดับข้อ
ใส่หลังชื่อผู้แต่งกรณีอ้างหลังข้อความ
หลังจุดให้เว้นวรรค 2 อักษร
: ทวิภาค
ใส่ในบรรณานุกรม
ใช้คั่นระหว่างปี พ.ศ. กับเลขหน้า ในการอ้างอิงแทรกในเนื้อหา
หน้าและหลังเครื่องหมายทวิภาค มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์กำหนดให้วรรค 1 ตัวอักษร
; อัฒภาค
, จุลภาค
ใช้คั่นตัวเลข หรือข้อความ
ใช้คั่นเมื่อมีการสับที่กันระหว่างชื่อ สกุล กับคำนำหน้านาม
ใช้คั่นข้อความระหว่างชื่อเฉพาะกับลักษณะของหน่วยงานในบรรณานุกรม
ใช้คั่นข้อความ
_
ขีดยาว
ใช้ในการเขียนบรรณานุกรม
... ไข่ปลา
ใช้ละข้อความที่ไม่ต้องการ
ยัติภังค์
ใช้เขียนแยกพยางค์เพื่อบอกคำเต็มที่จำเป็นต้องแยกตามฉันทลักษณ์
ใช้แยกพยางค์เพื่อบกคำอ่านโดยเขียนไว้ระหว่างพยางค์
ใช้แยกกลุ่มตัวเลขตามรหัสที่กำหนดไว้เลขประจำหนังสือสากล
[ ] วงเล็บเหลี่ยม
ใช้กันคำในการเขียนบรรณานุกรม ข้อมูลมาจากอินเทอร์เน็ต
( ) วงเล็บ
ใช้กันตัวเลขที่ใช้เป็นเลขหน้าในหน้าต่อส่วนต้น และในการลงในส่วนของสารบรรณส่วนต้น
ใช้กันตัวเลขที่เป็นข้อย่อย ๆในเนื้อหา
ใช้กันตัวเลขเลขปี พ.ศ. ที่เป็นปีที่พิมพ์ ในบรรณานุกรม
มหัตถสัญญา หรือ ย่อหน้า
ใช้เมื่อขึ้นต้นเรื่องหรือขึ้น
ข้อความใหม
การพิมพ์รายงานทางวิชาการ
ตัวพิมพ์
Font TH SarabunPSK
3 ขนาด
20 หนา
พิมพ์ไว้กึ่งกลางกระดาษ
ชื่อเรื่องปกนอก-ใน
คำเหล่านี้
คำนำ
สารบัญ
สารบัญตาราง
สารบัยภาพ
บรรณานุกรม
ภาคผนวก
บทที่ ชื่อบท
18 หนา
ใช้กับปกส่วนที่ 2,3
ใช้กับหัวข้อหลัก
ชื่อภาคผนวกย่อย
16 ปกติ
ข้อความปกติ
ชื่อหนังสือทำตัวหนา
ชื่อเว็บไซต์ในบรรณานุกรมทำตัวหนา
กระดาษและการจัดหน้ากระดาษ
ตัวพิมพ์ให้ใช้เครื่องพิมพ์
หมึกดำคมชัดแบบเดียวกันทั้งเล่ม
ใช้เครื่องพิมพ์เลเซอร์
กระดาษที่ใช้พิมพ์
ใช้กระดาไม่มีบรรทัด
ขนาดA4
ใช้หน้าเดียว
การเว้นว่างขอบกระดาษ
ขอบบน 1.50 นิ้ว
ขอบล่าง 1.00 นิ้ว
ขอบซ้าย 1.50 นิ้ว
ขอบขวา 1.00 นิ้ว
ย่อหน้า 7 ตัวอักษร
พิมพืข้อมความที่ย่อหน้าแล้วไม่จบ บรรทัดต่อไปชิดซ้าย
มีการแบ่งบท
มีเลขบอกบท
พิมพ์บรรทัดแรกสุด
ไว้กึ่งกลางหน้ากระดาษา
ข้อความที่เริ่มเนื้อหาให้ห่างจากบท 1 บรรทัด
ตัวอักษรบทที่ ชื่อบท 20 หนา
หัวข้อหลัก 18 หนา
ตัวอักษรทั่วไป 16
การเว้นระยะในการพิมพ์และใช้เครื่องหมายวรรคตอน
หลังตัวเลข ข้อความต่างๆ
ไม่ต้องใส่จุด
หลังจุดเว้น 2 อักษร
ไม่จำเป็นต้องมีจุด
สูตรคณิต-วิทยื
สัญลักษณ์คณิต-วิทย์
ชื่อย่อหน่วยงาน
ข้อความเริ่มด้วยอัญประกาศพิมพ์ย่อเข้า 7 ตัวอักษร
ตัวเลขบอกช่วงจำนวนต้องใช้จำนวนเติมทั้งหน้าและหลัง
การลำดับหน้าและการแบ่งบท
การลำดับหน้าที่เป็นส่วนนำทั้งหมด
ตัวเลขในวงเล็บ
หน้าแรกสารบัญไม่ต้องใส่
เลขกำกับเนื้อหา 1 2 3
การแบ่งบทและหัวข้อ
เริ่มบทใหม่ขึ้นหน้า
แบ่งหัวข้อ ต่ำแหน่ง ขนาดอักษร
แบ่งหัวข้อหลัก รอง ย่อย
หัวข้อหลัก
ชิดขอบซ้าย
ขนาด 18 หนา
ไม่ใส่เลขหน้า
เว้น 1 บรรทัดจากด้านบน
เนื้อหาล่างไม่เว้นบรรทัด
หัวข้อรองหรือหัวข้อย่อย
ย่อหน้า 7 ตัวอักษร
ขนาด 16 หนา ถ้าไม่มีตัวเลขกำกับ
ขนาด 16 ปกติ ถ้ามีตัวเลขกำกับ
การใช้ตัวเลขและเครื่องหมายกำกับ
หลังจุดเว้น 2 ตัวอักษร
ตาราง รูปภาพ แผนที่ แผนภูมิ กราฟ
ตาราง
พิมพ์หน้าเดียวกัน
ถ้ายาวพิมพ์หน้าถัดไปเนื้อหาอย่างน้อย 2 บรรทัด
ประกอบด้วย
ลำดับที่
ชื่อตาราง
หัวตาราง
ที่มาของตาราง
ขนาดของตารางไม่ควรเกิดนกรอบเอกสาร
รูปภาพ แผนที่ แผนภูมิ กราฟ ใช้แนวเดียวกัน
ตารางยาวเกิน 1 บรรทัด พิมพืบรรทัดถัดไปตรงกับอักษรหน้าแรก
ตาราง รูปภาพ แผนภูมิ
คักลอกต้องบอกแหล่งที่มา
หากเป็นภาษาอังกฤษให้แปลงเป็นไทย
การพิมพ์ภาคผนวก
ก่อนถึงภาคผนวกมีหน้าบอกก่อน
ขนาด 20 หนา
ใช้อักษร ก ข ค กำกับแต่ละภาคผนวก